ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
การใช้ชุดฝึกการเขียนเพื่อการพัฒนาทักษะการเขียนตัวพิมพ์เล็กภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
2
ปัญหาการวิจัย นักศึกษาส่วนใหญ่มีปัญหาด้านการเขียน ได้แก่ การเขียนคำศัพท์ การสะกดคำ การใช้คำหรือข้อความตามหน้าที่ในประโยค การเขียนบทสนทนา การเขียนประโยคบรรยายภาพสั้น ๆ และการใช้เครื่องหมายวรรคตอน ซึ่งปัญหาเช่นเดียวกัน (สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร. 2541) ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะสร้างการใช้ชุดฝึกการเขียนเพื่อการพัฒนาทักษะการเขียนตัวพิมพ์เล็กภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ
3
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลการใช้แบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 ชุดฝึกเขียนตัวพิมพ์เล็กภาษาอังกฤษจำนวน 1 หน่วยและหลังเรียน 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1
4
ผังสรุปสำคัญ ชุดฝึกเขียนตัวพิมพ์เล็กภาษาอังกฤษ
จำนวน 1 หน่วยและหลังเรียน การใช้ชุดฝึกการเขียนเพื่อการพัฒนาทักษะการเขียนตัวพิมพ์เล็กภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1
5
สรุปผลการวิจัย 1. นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เมื่อทำการฝึกโดยใช้แบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษแล้ว พบว่า ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนทั้ง 3 ด้าน คือด้านการเขียนคำศัพท์ ด้านการเขียนบทสนทนา และด้านการเขียนประโยคบรรยายภายหลังได้รับการฝึกสูงกว่าก่อนได้รับการฝึก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
6
สรุปผลการวิจัย 2. คะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาในระหว่างที่ทำแบบฝึก ด้านการเขียนคำศัพท์ ด้านการเขียนบทสนทนา และด้านการเขียนประโยคบรรยายภาพ มีค่าเท่ากับ , , และ คะแนน หรือเท่ากับร้อยละ , และ ของคะแนนเต็มในแต่ละด้านตามลำดับ เมื่อพิจารณาประสิทธิภาพของแบบฝึกความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการและผลลัพธ์โดยเฉลี่ย พบว่า มีค่าเท่ากับ / ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80 / 80
7
ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย
1. ได้ศึกษาผลการใช้แบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 ชุดฝึกเขียนตัวพิมพ์เล็กภาษาอังกฤษจำนวน 1 หน่วยและหลังเรียน 2. ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 @ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ
8
@ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ
สวัสดี... @ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.