งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
นายอัตถพงศ์ ถนิมพาสน์ นักจิตวิทยา ระดับเชี่ยวชาญ

2 - วัยก่อนคลอด (เริ่มตั้งแต่ครรภ์ - คลอด) วัยรุ่น (16-25 ปี)
ทฤษฎีพัฒนาการ แบ่งวัยพัฒนาการของมนุษย์ ดังนี้ - วัยก่อนคลอด (เริ่มตั้งแต่ครรภ์ - คลอด) วัยรุ่น (16-25 ปี) วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (25-40 ปี) วัยกลางคน (40-65 ปี) วัยชรา (65 ปีขึ้นไป) - วัยทารก - วัยเด็กตอนต้น 0-6 ปี - วัยเด็กตอนปลาย (6-12 ปี) - วัยแรกรุ่น (12-15 ปี

3 พัฒนาการด้านร่างกาย พัฒนาการด้านภาษา พัฒนาการด้านอารมณ์ พัฒนาการด้านสังคม

4 พัฒนาการด้านร่างกาย วัยแรกคลอด ถึง 2 ขวบ

5 การเรียนรู้ทาง สังคม

6 สังคมกับเพื่อน

7 ระดับพัฒนาการของเด็ก
เด็กเล็กมักเอาแต่ใจตนเองและมีช่วงความสนใจสั้น การใช้ตุ๊กตาหรือตุ๊กตาสรีระ (anatomical correct dolls) จะช่วยให้เด็กสามารถเล่าเรื่องได้ดีขึ้น ผู้สัมภาษณ์จำเป็นต้องสังเกตพฤติกรรมเด็กร่วมด้วย เด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ จะนึกถึงเรื่องที่ผ่านมาได้น้อยกว่าเด็กโตหรือผู้ใหญ่ เด็กอายุต่ำกว่า 8 ปี จำเป็น ต้องใช้ของเล่นและการวาดภาพในการสร้างสัมพันธภาพกับเด็ก

8 การสื่อภาษา เด็กเล็กจะใช้ภาษาได้ไม่ดีเท่ากับเด็กโต การสัมภาษณ์เด็กจึงควรคำนึงถึงความเข้าใจภาษาและความสามารถในการใช้ภาษาของเด็กแต่ละวัยด้วย แม้ว่าเด็กสามารถพูดได้ตั้งแต่อายุ 1 ขวบ พัฒนาการทางภาษาจะดีขึ้นเรื่อยๆ เด็กอายุ 2 ขวบจะเข้าใจคำสั่งได้ดีทำตามคำสั่งได้ แต่ไม่สามารถพูดได้เปล่งภาษาได้ดีนัก เด็กอายุ 3 ขวบ จะช่างซักถามและโต้ตอบตรงคำถามได้ดีพอสมควร เด็กอายุ 4 ขวบจะสามารถเล่าเรื่องตามลำดับได้ แต่เด็กอาจมีจินตนาการและการเล่าเรื่องจะเกินจริงได้ เมื่อเด็กอายุ 8-9 ปี จึงจะสามารถใช้คำบุพบทและเข้าใจเหตุผลของสิ่งที่เกิดขึ้น และเมื่อเด็กอายุมากกว่า 15 ปี เขาก็จะสามารถตอบคำถามจากการสัมภาษณ์ได้ เช่นเดียวกับผู้ใหญ่

9 ความเข้าใจเรื่องเวลา
ผู้สัมภาษณ์ควรระมัดระวังเรื่องการแปลความหมายในการให้ข้อมูลด้านเวลาของเด็ก เพราะเด็กแต่ละวัยจะมีความเข้าใจความหมายของเวลาแตกต่างกัน กล่าวคือ เด็กอายุ 2-3 ขวบ จะรู้ถึงความแตกต่างระหว่างกลางวันกับกลางคืนอย่างง่ายๆ แต่เด็กไม่สามารถใช้คำพูดอย่างถูกต้อง เด็กเข้าใจเวลาโดยเชื่อมโยงกับกิจวัตรประจำวัน เช่น ถึงเวลากินข้าว ถึงเวลานอนแล้ว ฯลฯ

10 ความเข้าใจเรื่องเวลา (ต่อ)
อายุ 5 ปี เด็กสามารถใช้คำว่า เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งนี้ได้อย่างถูกต้อง เด็กอายุ 9-10 ปี สามารถเข้าใจเรื่องเวลาได้อย่างถูกต้อง ความเข้าใจเรื่องเพศและสถานภาพทางสังคม เด็กอายุ 3 ขวบ จะรู้ว่าตนเองเพศอะไร และจะค่อยๆ เรียนรู้บทบาททางเพศของหญิงชายตามเพศของตน

11 ความเข้าใจเรื่องเวลา (ต่อ)
เด็กอายุ 3-4 ขวบ สามารถเล่าเรื่องเหตุการณ์ลำกับก่อนหลังได้ ความหมายของเวลาจะต่างจากผู้ใหญ่ เช่น เด็กบอกว่าเมื่อวานนี้อาจหมายถึงเหตุการณ์ก่อนหน้านี้พรุ่งนี้อาจหมายถึงเหตุการณ์ที่กำลังจะเกิดขึ้น

12 การแสดงออกทางสังคม

13 การแสดงออกทางอารมณ์ สังคม สติปัญญา

14 ระดับเชาวน์ปัญญา สามารถประเมินได้จาก การใช้ศัพท์ การตอบคำถาม การใช้เหตุผล การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ความสมารถในการชี้ส่วนต่างๆ ของร่างกาย การวาดภาพ การลบเลข รวมทั้งผลการเรียน

15 ลักษณะอารมณ์ การแสดงอารมณ์ เช่น วิตกกังวล ซึมเศร้า อาย กลัว เฉยเมย โกรธ ลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลง ง่าย หรือแสดงอารมณ์ที่ไม่เหมาะสม บางครั้งขณะสัมภาษณ์เด็กอาจแสดงอารมณ์ราวกับว่าเกิดเหตุการณ์นั้น จริงๆ ขณะนั้น

16 ความคิดและการรับรู้ ความคิดที่ผิดปกติ การรู้จักสถานที่ เวลา บุคคล ถามถึงอนาคตและความปราถนา 3 อย่าง การใช้กลไกทางจิต เช่น แยกตัว (withdraw) โทษคนอื่น โทษตนเอง ปฏิเสธความจริง หาเหตุผลเข้า ข้างตน ฝันกลางวัน เป็นต้น

17 ความจำ อาจตรวจโดยใช้ ทบทวนความจำหลังจากให้จำสิ่งของ 3 อย่าง รวบรวมและจัดทำ Digit span : เด็กอายุ 8 ปี จำตัวเลข forward 5 ตัว backward 3 ตัว เด็กอายุ 10 ปี จำตัวเลข forward 4 ตัว backward 4 ตัว

18 ความฝัน ดูจาก การเล่าเรื่องจากความฝัน การขอพร 3 อย่าง การเล่น การเล่าเรื่องทั่วไปและการเล่าเรื่องจากภาพ


ดาวน์โหลด ppt เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google