งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มี 4 ข้อ Substantial Transformation Criteria (ST)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มี 4 ข้อ Substantial Transformation Criteria (ST)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มี 4 ข้อ Substantial Transformation Criteria (ST)
1. เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านพิกัดฯ(CTC) 2. เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่เพิ่มขึ้นในตัวสินค้า(VA) 3. เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต (Process) 4. เกณฑ์แบบผสมหรือเกณฑ์เฉพาะสำหรับผลิตภัณฑ์ (Mixed Criteria or Product Specific Rules)

2 1. เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านพิกัดฯ(A Criterion of change in tariff classification หรือ CTC
หมายถึง เกณฑ์ถิ่นกำเนิดฯที่กำหนดโดยดูจากการ เปลี่ยนแปลงพิกัดฯระหว่างพิกัดฯของวัตถุดิบที่นำเข้ากับพิกัดฯของสินค้าสำเร็จรูปที่ส่งออก โดยความแตกต่างของพิกัดฯเกิดขึ้นจาก การที่วัตถุดิบนำเข้าดังกล่าว ถูกนำไปแปรรูปเป็นสินค้าสำเร็จรูปโดยผ่านกระบวนการที่ซับซ้อน สินค้าที่ได้จากกระบวนการดังกล่าวจะได้ถิ่นกำเนิดฯเป็นของประเทศผู้ผลิต ถ้าการแปรรูปใช้กระบวนการอย่างง่ายสินค้าที่ได้จะไม่ได้ถิ่นกำเนิดฯแม้ว่ามีการเปลี่ยนพิกัดฯ

3 ส่งออก วัตถุดิบนำเข้า ถิ่นกำเนิดสินค้าเป็นของประเทศผู้ส่งออก
สินค้าส่งออก Processes Complex Transformation (PVC) พิกัดฯของวัตถุดิบนำเข้า พิกัดฯของสินค้าส่งออก พิกัดฯแตกต่างกัน ถิ่นกำเนิดสินค้าเป็นของประเทศผู้ส่งออก ส่งออก สินค้าส่งออก

4 แตกต่าง หรือ วัตถุดิบนำเข้าเป็นผ้า ของสำเร็จรูปที่ส่งออกเป็นเสื้อ
การตัดเย็บเสื้อผ้าจัดเป็นกระบวนการผลิตที่ยาก แตกต่าง Change of Tariff Chapter หรือ เสื้อที่ส่งออก

5 หรือ วัตถุดิบนำเข้าเป็นเส้นด้าย ของสำเร็จรูปที่ส่งออกเป็นผ้าทอ
การทอผ้าจัดเป็นกระบวนการผลิตที่ยาก แตกต่าง Change of Tariff Heading หรือ ผ้าที่ส่งออก

6 หรือ วัตถุดิบนำเข้าเป็นเพชรดิบ
ของสำเร็จรูปที่ส่งออกเป็นเพชรเจียระไนแล้ว การเจียระไนจัดเป็นกระบวนการผลิตที่ยาก แตกต่าง Change of Tariff Sub-heading หรือ เพชรที่ส่งออก

7 สรุปได้ว่าเกณฑ์การได้ถิ่นกำเนิดสินค้าโดยการเปลี่ยนแปลงพิกัดฯแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
1.เปลี่ยนแปลงในระดับตอน(Change of Tariff Chapter) หรือ CC 2.เปลี่ยนแปลงในระดับประเภท(Change of Tariff Heading) หรือ CTH 3.เปลี่ยนแปลงในระดับประเภทแยกย่อย(Change of Tariff Split-heading) หรือ CTHS

8 4.เปลี่ยนแปลงในระดับประเภทย่อย(Change of Tariff Subheading) หรือ CTSH
5.เปลี่ยนแปลงในระดับประเภทย่อยแยกย่อย(Change of Tariff Split-Subheading) หรือ CTSHS

9 กรณีสินค้าที่ส่งออก ทำมาจาก วัตถุดิบหลายชนิด เราจะพบว่าในตัวสินค้านั้น จะมีเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า หลายเกณฑ์ปนกันอยู่ในตัวสินค้า ปัญหาก็คือ เราจะกำหนดเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า สำหรับสินค้าที่ส่งออกได้อย่างไร การกำหนดเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า ในกรณีดังกล่าวข้างต้นนี้ สามารถทำได้โดยใช้ หลักเกณฑ์ที่เรียกว่า “Tariff Shift Rules”

10 หลักการของ”Tariff Shift Rules” คือการนำเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้าที่มีอยู่หลายเกณฑ์ในตัวสินค้ามาเรียงลำดับกัน โดยให้เรียงจากเกณฑ์ที่มีจำนวนหลักของตัวเลขที่มากไปหาเกณฑ์ที่มีจำนวนหลักของตัวเลขที่น้อย แล้วสรุปให้ตัวเลขมากเป็นเกณฑ์ตัวแทนของสินค้านั้น ตามตัวอย่างในPageต่อไป

11 6 หลัก CTSHS 6 หลัก CC CTSH 2 หลัก 4 หลัก 4 หลัก CTHS CTH หลัก Tariff Shift Rules คือ ตัวเลขมากคลุมตัวเลขน้อย

12 CTH 440130 PROCESSES EXPORT ไม้อัด 441299 350699 CC CTH กาว

13 CC CC CC CTSH CTSH ส่งออก Part:8450.90 8450.12 Switch:8536 Motor :8501
Circuit:8537 CC Rubber:40 CC ส่งออก Glass:70 CTSH Part: CTSH


ดาวน์โหลด ppt มี 4 ข้อ Substantial Transformation Criteria (ST)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google