งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
สคร.๖ จ.ขอนแก่น

2 ที่มาของการดำเนินโครงการ ปี ๒๕๕๓
ที่มาของการดำเนินโครงการ ปี ๒๕๕๓ การได้รับนโยบายการพัฒนาและสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ของกรม ควบคุมโรค ที่จังหวัดเชียงใหม่ (๒๕๕๑) ได้รับแรงบันดาลใจ จากแนวคิด/ความเชื่อมั่น ของ อาจารย์อมร นนทสุต สคร ได้รับงบประมาณในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือข่าย (สสจ. อปท.) ในการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ระดับเขต ( ๑๕-๑๗ ธ.ค๕๑) (SRM SLM) สคร.๖ ได้ผลักดันต่อ โดยกำหนดเป็นตัวชี้วัดของกลุ่มงาน ให้มีการถ่ายทอดสู่ บุคลากรในกลุ่มงาน และมีจัดทำตาราง ๑๑ ช่อง ทำ Mini SLM ทุกกลุ่มงานๆละ ๑ โรค โดยขั้นตอนที่ ๕ ให้มีการนำแผนที่ฯ ไปใช้ในการวางแผนการจัดทำ แผนงาน/โครงการ ปี ๒๕๕๒

3 ๕. ทดลองรูปแบบการใช้แผนที่ฯในการป้องกันโรคติดต่อของศูนย์เด็กเล็กใน อปท
๕.ทดลองรูปแบบการใช้แผนที่ฯในการป้องกันโรคติดต่อของศูนย์เด็กเล็กใน อปท. ๒ แห่ง คือ ต. หนองกุง จ. มหาสารคามและ ต.ด่านช้าง จ.หนองบัวลำภู ๖.ได้รับเลือกให้ร่วมดำเนินการจัดทำ SLM ๒ กรม ที่ สะเมิงรีสอร์ท( ๑-๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ และพัฒนาในพื้นที่ต้นแบบที่อบต.บัวเงิน อ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น) สิ่งที่อยากให้เกิด เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในหน่วยงานและเครือข่ายในการสร้างและใช้แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แก่เครือข่ายใน การบริหารจัดการงานป้องกันควบคุมโรคอย่างน้อย จังหวัดละ ๑ แห่ง

4 ค. กิจกรรมที่ทำ ค. กิจกรรมที่ทำ ขั้นการเตรียมการ
- แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาจากทุกกลุ่มฝ่าย - ประชุมวางแผนการดำเนินงาน/รับแนวนโยบาย/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกับกรมควบคุมโรคทางวีดีโอฯ - จัดประชุมประสานแผนกับจังหวัดและเครือข่ายวิชาการเพื่อหาแนวทาง ในการดำเนินงานร่วมกัน

5 ขั้นการพัฒนา ค. กิจกรรมที่ทำ
- อบรมฟื้นฟูบุคลากร สคร. และเครือข่าย ครู ก ระดับจังหวัด(งานสช. งาน แผน งานส่งเสริม งานกองทุน งานคร.)และเครือข่ายกรมอนามัย กรม สบส. พร้อมบูรณาการแผนงาน/งบ ร่วมกัน ๑-๓ ธ.ค. ๕๒ ถ่ายระดับแผนที่ฯจากกรม/สำนัก สู่เขต/กลุ่มโรค สนับสนุนเครือข่ายในการดำเนินการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ใน พื้นที่นำร่องของ สคร.และเครือข่าย(เงื่อนไขคือ ๑)มีกองทุน ๒)มีรพสต.๓) เป็นหมู่บ้านจัดการ ๓)เป็นพท.ศูนย์การเรียนรู้ ๔)ยินดี สนับสนุนด้านวิชาการที่เกี่ยวข้อง/ตอบสนอง Mini Slmและความต้องการ ของพื้นที่

6 ขั้นการประเมินผล ค. กิจกรรมที่ทำ
- ร่วมประเมินกระบวนการ ติดตามผลการดำเนินงานตาม Mini SLM - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปบทเรียนการดำเนินงาน ประกวด ผลงานดีเด่น - สรุปเป็นเอกสาร

7 ผลที่เกิดขึ้นตามแผนปฏิบัติการ
ได้แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานร่วมกัน (ในเวทีประสาน แผน ๙-๑๐ พ.ย.๒๕๕๒และการประชุมทาง VDO Con.) คณะทำงาน และภาคีเครือข่าย สสจ. ศูนย์อนามัยฯ ได้รับ การเครือข่ายมีความรู้ ทักษะได้รับการพัฒนาศักยภาพในการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (๑-๓ ธ.ค.๒๕๕๒) มีการใช้แผนที่ฯในการบริหารการเปลี่ยนแปลง พื้นที่มีการดำเนินการตามแผนฯ มีบทเรียนการดำเนินงานเพื่อการขยายผล

8 ความก้าวหน้า ความสำเร็จ ความภาคภูมิใจ
ขั้นเตรียมการ สามารถดำเนินการได้ตามแผนทุกกิจกรรม ขั้นพัฒนา - อบรมฟื้นฟูวิทยา ครู ก เป็นไปตามแผน - การกำหนดพื้นที่และกำหนดการดำเนินงานที่ชัดเจน ได้ ๗ จังหวัด รอผลอีก ๑ จังหวัด ( เดือน กพ.-มี.ค) โดย สสจ. /สสอ.เป็นเจ้าภาพ คณะทำงาน สคร. และ ศอ. รับเป็นทีมดำเนินการ และหรือร่วม ดำเนินการ ใช้งบจากกองทุนตำบล สคร.ร่วมสนับสนุนแห่งละ ๑๐,๐๐๐ บาท

9 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ความเชื่อมโยงของนโยบายทุกระดับ สอดคล้อง ชัดเจน บูรณาการ แท้จริง การพัฒนาทักษะ ความรู้อย่างต่อเนื่อง การติดตามประเมินผลที่ต่อเนื่องจากกรมควบคุมโรค บุคลากรผู้รับผิดชอบมีใจอยากทำ มีกระบวนทัศน์ที่ดีต่อการพัฒนา มีพื้นที่ที่มีความพร้อมในการดำเนินการ (มีกองทุน กรรมการ แกนนำ เข้มแข็ง) ในระดับหนึ่ง

10 สิ่งที่ไม่ได้ดังใจ (สาเหตุ-วิธีแก้ไข)
ความไม่ชัดเจนนโยบายการดำเนินงานในแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ ของ สสจ. ไม่มีเจ้าภาพเฉพาะ ส่วนใหญ่เป็นงาน ฝาก ขาดการบูรณาการกับกลุ่มงาน กรม กอง ทำให้เสียเวลา งบประมาณ ทีมงานขาดความเข้าใจ ให้ความสำคัญน้อย ขาดความ ต่อเนื่องในการดำเนินการ

11 สิ่งที่ได้โดยไม่คาดหวัง (อะไร-สาเหตุ)
ได้เครือข่ายการทำงานระดับเขต และจังหวัด จากเวทีการอบรมฟื้นฟู (เกิดการบูรณาการ ทำงาน ทั้งพื้นที่ งบประมาณ)

12 ความรู้ ทักษะ ข้อเสนอแนะ
ความรู้ทักษะ ได้รับการพัฒนากระบวนทัศน์ ทักษะแนวทางการทำงานใหม่ ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนา อปท. ควรมีส่วนร่วมและแสดงบทบาทมากขึ้น (มีความเข้าใจการสร้าง/ ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ โดยการสนับสนุนของภาครัฐที่เกี่ยวข้อง) กรมควบคุมโรค. กรมอนามัย สปสช. และ สช. ควรประสานและผลักดัน แผนการดำเนินร่วมกันอย่างเข้มข้น มีการผลักดันเป็นนโยบายที่ต่อเนื่อง อย่างจริงจัง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ กรรมการ ภาคประชาชน ในการตรวจสอบ ประเมินการดำเนินงานของ อปท.

13 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google