งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้
Senior Project Progress Presentation ห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้ นายณัชนนท์ วงษ์วิไล นายดนัยนันท์ เก่าเงิน

2 บทนำ ที่มาและความสำคัญของปัญหา หลักการทำงานของโปรแกรม
การเติบโตของธุรกิจเสื้อผ้า การลองเสื้อในธุรกิจเสื้อผ้าขายปลีก ปัญหาการลองเสื้อ หลักการทำงานของโปรแกรม Input image Human pose estimation Generate virtual cloth using human pose Merging virtual object Next image

3 ขั้นตอนการดำเนินงาน ศึกษาปัจจัยที่มีผลในการทำงานของโปรแกรม
ศึกษาและพัฒนาโปรแกรมในส่วนการรับภาพจากกล้อง ศึกษาเทคนิคต่างๆ ของ Image processing ศึกษาและพัฒนาในส่วน Object Tracking ศึกษาและพัฒนาในส่วน Human Pose Estimation ศึกษาและพัฒนาในส่วน Merging Virtual Object ออกแบบและพัฒนาส่วนต่อประสานผู้ใช้ พัฒนาโปรแกรมห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้ ทดสอบและแก้ไขการทำงานของโปรแกรม

4 รายละเอียดการดำเนินงานที่ผ่านมา
ศึกษาปัจจัยที่มีผลในการทำงานของโปรแกรม ศึกษาและพัฒนาโปรแกรมในส่วนการรับภาพจากกล้อง ศึกษาเทคนิคต่างๆ ของ Image processing ศึกษาและพัฒนาในส่วน Object Tracking ศึกษาและพัฒนาในส่วน Human Pose Estimation ศึกษาและพัฒนาในส่วน Merging Virtual Object ออกแบบและพัฒนาส่วนต่อประสานผู้ใช้ พัฒนาโปรแกรมห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้ ทดสอบและแก้ไขการทำงานของโปรแกรม

5 ศึกษาปัจจัยที่มีผลในการทำงานของโปรแกรม
กล้อง ชนิด, ความละเอียด, ความเร็ว แสง ประเภท, ความสว่าง, จำนวน, ตำแหน่ง ฉากหลัง สี, ชนิดวัสดุ ผู้ใช้ ลักษณะเฉพาะของผู้ใช้

6 ศึกษาและพัฒนาโปรแกรมในส่วนการรับภาพจากกล้อง
เริ่มศึกษาจากการ coding OpenCV Microsoft Visual Studio

7 ศึกษาเทคนิคต่างๆ ของ Image processing
Convert color Image Morphology Smoothing Threshold Histogram SATURATION HUE

8 ศึกษาและพัฒนาในส่วน Object Tracking
Upper body detection and tracking วิธีการที่ 1 อ้างอิงจาก Skin Detection using HSV color space ที่มา : V. A. OLIVEIRA, A. CONCI, “Skin Detection using HSV color space”, Computation Institute – Universidade Federal Fluminense – UFF – Niteri, Brazil.

9 Upper body detection and tracking (1)

10 Upper body detection and tracking (1)
ปัญหาที่พบ ไม่สามารถใช้ได้กับผู้ใช้ที่มีสีผิวคล้ำ ไม่สามารถระบุตำแหน่งของใบหน้าและแขนได้

11 Upper body detection and tracking (2)
วิธีการที่ 2 วิธี Haar-like detection อ้างอิงจาก Haar-like Features and Integral Image Representation ที่มา : David Gerónimo, “Haar-like Features and Integral Image Representation”, Master in Computer Vision and Artificial Intelligence, Centre de Visió per Computador Edifici O Campus UAB, 18th December 2009.

12 Upper body detection and tracking (2)
Using haar-like detector Face and upper body Harr-like detection

13 Upper body detection and tracking (2)
ปัญหาที่พบ ไม่สามารถระบุตำแหน่งของแขนได้ ใช้เวลาในการประมวลผลนานจนเกินไป (~1000 ms)

14 Upper body detection and tracking (3)
วิธีการที่ 3 (ปัจจุบัน) อ้างอิงจาก Robust real-time upper body limb detection and tracking ที่มา : Matheen Siddiqui and Gerard Medioni, “Robust real-time upper body limb detection and tracking”, Video surveillance and sensor networks, Proceedings of the 4th ACM international workshop on, 2006.

15 Upper body detection and tracking (3)
Face detection using Haar-like detector

16 Upper body detection and tracking (3)
Convert to HSV Create H-S space histogram Convert color & Create histogram

17 Upper body detection and tracking (3)
Back projection Reduce noise Threshold (40%)

18 Upper body detection and tracking (3)
Canny Find and draw contours

19 Upper body detection and tracking (3)

20 ออกแบบและพัฒนาส่วนต่อประสานผู้ใช้
GUI

21 ออกแบบและพัฒนาส่วนต่อประสานผู้ใช้ (ต่อ)
Virtual Button

22 ความก้าวหน้าเมื่อเทียบกับกำหนดการที่วางไว้
กิจกรรม ระยะเวลา(เดือน) ส.ค. 53 ก.ย.53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 53 1.ศึกษาและรวบรวมข้อมูล ความต้องการของระบบ 2.ศึกษาปัจจัยภายที่มีผลในการทำงานของโปรแกรม 3.ศึกษาและพัฒนาโปรแกรมในส่วนการรับภาพจากกล้อง 4.ศึกษาเทคนิคต่างๆ ของ Image processing 5.ศึกษาและพัฒนาในส่วน Object Tracking 6.ศึกษาและพัฒนาในส่วน Human Pose Estimation 7.ศึกษาและพัฒนาในส่วน Merging Virtual Object 8.ออกแบบและพัฒนาส่วนต่อประสานผู้ใช้ 9.พัฒนาโปรแกรมห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้ 10.ทดสอบและแก้ไขการทำงานของโปรแกรม

23 แผนการดำเนินงานขั้นต่อไป
ปรับแผนการดำเนินงาน ดำเนินงานในขั้นถัดไป การศึกษาและพัฒนาในส่วน Human Pose Estimation การออกแบบและพัฒนาส่วนต่อประสานผู้ใช้ การศึกษาและพัฒนาในส่วน Merging Virtual Object พัฒนาโปรแกรมห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้ ทดสอบและแก้ไขการทำงานของโปรแกรม

24 อุปสรรคและแนวทางการแก้ไข
ความไม่คุ้นเคยของผู้พัฒนาต่อการใช้งาน OpenCV ปัญหาการเลือกใช้ algorithm ที่เหมาะสม ปัญหาการควบคุมปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการทำงานของโปรแกรม

25 Q & A


ดาวน์โหลด ppt ห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google