งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550

2 1. ข้อมูลทั่วไปที่ น่าสนใจ

3 2. แนวทางในการรักษาคุณภาพ และข้อสังเกต 2.1 แบบของหลักสูตร 2.2 คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ สมัคร 2.3 คุณสมบัติของอาจารย์ 2.4 เกณฑ์สำเร็จการศึกษา

4 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการมี แบ่งการศึกษา เป็น 2 แบบ ทั้ง 2 แบบเน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาการและ นักวิชาชีพชั้นสูง 2.1 แบบของหลักสูตร ปริญญาเอก

5 แบบ 1 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการทำวิทยานิพนธ์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ สถาบันอุดมศึกษาอาจกำหนดให้เรียนรายวิชาเพิ่มเติม หรือทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มขึ้นก็ได้โดยไม่นับ หน่วยกิต แต่จะต้องมีผลสัมฤทธิ์ตามที่ สถาบันอุดมศึกษากำหนด ดังนี้  แบบ 1.1 ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโทจะต้องทำ วิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต  แบบ 1.2 ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรีจะต้องทำ วิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต ทั้งนี้วิทยานิพนธ์ตามแบบ 1.1 และ 1.2 จะต้องมีมาตรฐาน และคุณภาพเดียวกัน

6 แบบที่ 2 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการ วิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพสูงและ ก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพและ ศึกษางานรายวิชาเพิ่มเติมดังนี้  แบบ 2.1 ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโทจะต้องทำ วิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิตและศึกษา งานรายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต  แบบ 2.2 ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรีจะต้องทำ วิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต และศึกษา งานรายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต ทั้งนี้วิทยานิพนธ์ตามแบบ 2.1 และ 2.2 จะต้องมี มาตรฐานเดียวกัน

7 2.2 คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ สมัคร

8 2.3 คุณสมบัติของอาจารย์ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องเป็นอาจารย์ ประจำหลักสูตร มี คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ เป็นผู้ดำรงดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ ต่ำกว่าศาสตราจารย์ในสาขานั้นหรือ สาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน จำนวนอย่างน้อย 3 คน

9 อาจารย์ผู้สอน ต้องเป็นอาจารย์ประจำหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกสถาบัน มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า หรือเป็นผู้ดำรงตำแหน่ง ทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์ กัน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และการทำวิจัยที่มิใช่ส่วนหนึ่งของ การศึกษาเพื่อรับปริญญา

10 2.4 เกณฑ์สำเร็จการศึกษา แบบที่ 1  สอบผ่านภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 1 ภาษา  สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) และสอบผ่านการสอบปากเปล่าชั้นสุดท้าย  ผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รบการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อย ดำเนินการให้ผลกงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการ ยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่มี กรรมการภายนอกมาร่วมกลั่นกรอง (Peer Review) ก่อนการ ตีพิมพ์ และเป็นที่ยอมรับในสาขานั้น

11 แบบที่ 2  ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนด  สอบผ่านภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 1 ภาษา  สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการ  ผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์ในวารสารหรือ สิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่มีกรรมการภายนอกมาร่วมกลั่นกรอง (Peer Review) ก่อนการตีพิมพ์ และเป็นที่ยอมรับในสาขานั้น

12 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google