ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
ชุติมณฑ์ บุญมาก
2
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน การทำให้เป็นรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
3
แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
ความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์ในแต่ละรีเลชัน ความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบฟังค์ชัน (FD) ความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบหลายค่า (MVD) ความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบ Join
4
แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
วัตถุประสงค์ในการทำให้เป็นรูปแบบบรรทัดฐาน เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่จัดเก็บในแต่ละรีเลชัน ทำให้เกิดประโยชน์ดังนี้ ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล ลดปัญหาขาดความถูกต้องของข้อมูล ลดปัญหาที่เกิดจากการปรับปรุง เพิ่มเติม และลบข้อมูล
5
การทำให้เป็นรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานขั้นที่ 1 คือทุกแอททริบิวต์ในแต่ละทูเพิลมีค่าของข้อมูลเพียงค่าเดียว รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานขั้นที่ 2 คือรีเลชันนั้นต้องไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบบางส่วน รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานขั้นที่ 3 คือทุกแอททริบิวต์ที่ไม่ใช่คีย์หลักไม่มีคุณสมบัติในการกำหนดค่าของ แอททริบิวต์ อื่น รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานของบอยส์และคอดด์ เป็นรูปแบบที่ขยายขอบเขตมาจากขั้นที่ 3 เพื่อแก้ปัญหาความซ้ำซ้อนของข้อมูล
6
การทำให้เป็นรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานขั้นที่ 4 คือรีเลชันนั้นต้องไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบหลายค่า รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานขั้นที่ 5 คือ รีเลชันนั้นๆมีความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบ Join และรีเลชันย่อยๆที่จำแนกออกมาต้องมีคีย์คู่แข่งของรีเลชันเดิมอยู่ด้วยเสมอ หรือ รีเลชันนั้นๆ ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างแอททริบิวต์แบบ Join
7
การทำให้เป็นรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
ข้อควรคำนึงในการทำให้เป็นรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน การจำแนกรีเลชันย่อยมากเกินไป การ Denormalization หมายถึง การที่รีเลชันใดๆถูกออกแบบให้มีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบบรรทัดฐานที่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.