งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 (2555-2559) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข

2 ผลลัพธ์สำคัญปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์ ระบบสุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน ผลลัพธ์สำคัญปีงบประมาณ 2554 1 ข้อเสนอพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน และโมเดลตัวอย่างไม่น้อยกว่า 3 พื้นที่ + ข้อเสนอนโยบายใหม่ที่สนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน & ระบบสุขภาพไม่น้อยกว่า 3 นโยบาย 2 ผลประเมินนโยบายที่สนับสนุนความเป็นธรรมด้านสุขภาพไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง 3 ระบบ/กลไก เครื่องมือ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาข้อมูลสนับสนุนการกำกับติดตาม และประเมินระบบสุขภาพ 4 มีเครือข่ายวิจัยระบบสุขภาพ มีองค์กรสนับสนุนพัฒนาระบบวิจัยสุขภาพที่ทำงานร่วมกับองค์กรนโยบายวิจัยชาติ มีนโยบายระบบวิจัยสุขภาพ/การเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติ 5 แผนงาน/โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภายในของ สวรส. และเครือข่ายสถาบันฯ บรรลุตามเป้าหมายไม่น้อยกว่า 80% สร้างและจัดการความรู้ผ่านทุนการวิจัยระบบสุขภาพ สร้างและจัดการความรู้ผ่านการขยายทุนการวิจัยระบบสุขภาพ สร้างและจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนการพัฒนานโยบาย เสริมสร้างศักยภาพระบบวิจัยสุขภาพ เป้าประสงค์ 1 พัฒนาระบบสุขภาพชุมชน 2 วิจัยนโยบาย สร้างกลไกอภิบาลระบบสุขภาพ 3 พัฒนาศักยภาพระบบวิจัย 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร และเครือข่ายฯ

3 Learning Systems ระบบสุขภาพเป็นธรรมและยั่งยืน
นโยบายสร้างความเป็นธรรมต่อระบบสุขภาพ เครือข่ายจัดการความรู้ วิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน เครือข่ายอภิบาลระบบสุขภาพ กลไกอภิบาลระบบสุขภาพ: ข้อมูล รายงาน การสื่อสาร เครื่องมือใหม่ ระบบปฏิบัติการสนับสนุนความเป็นธรรมต่อระบบสุขภาพ สร้างและจัดการความรู้ผ่านทุนการวิจัยระบบสุขภาพ สร้างและจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนการพัฒนานโยบาย สร้างและจัดการความรู้ผ่านการขยายทุนการวิจัย เสริมสร้างศักยภาพระบบวิจัย ผลลัพธ์ปีงบประมาณ 2554 เป้าหมาย: นโยบาย กลไกอภิบาล 1 วิจัยนโยบายระบบสุขภาพ: ประเมินนโยบายสำคัญ, ระบบยา, APEIR, ระบบประกันสุขภาพ 2 วิจัยระบบอภิบาล: การบริหารนโยบายองค์กรนโยบาย, ดัชนีธรรมาภิบาล สสจ, สำรวจดัชนีความเชื่อมั่นระบบ, กระจายอำนาจสุขภาพ 3 วิจัยเครื่องมืออภิบาลระบบ: รูปแบบการจ่ายเงินระบบประกันฯ, ระบบการเงินการคลังสุขภาพชาติ, health literacy 4 บริหารและพัฒนาระบบข้อมูล: มาตรฐานระบบข้อมูล, case-mix centre Learning Systems เป้าหมาย: ระบบสุขภาพชุมชน 1 วิจัยระบบบริการ: ปฐมภูมิ & รพสต การส่งต่อ กลุ่มเฉพาะ (ผู้สูงอายุ คนพิการ กลุ่มด้อยโอกาสต่างๆ), ภูมิปัญญาไทย, การแพทย์ฉุกเฉิน 2 วิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3 วิจัยความเป็นธรรมเชิงสังคมศาสตร์ในกลุ่มเฉพาะ 4 วิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารกลุ่มด้อยโอกาส เป้าหมาย: ศักยภาพระบบวิจัย 1 ระบบวิจัยสุขภาพ: พัฒนา policy unit กับองค์กรนโยบายวิจัยชาติ, สนับสนุนกลไก คกก วิจัยระบบสุขภาพ 2 พัฒนาเครือข่าย R2R: เครือข่ายภูมิภาค และเฉพาะประเด็น 3 เครื่องมือการวิจัยระบบสุขภาพ: การคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ เป้าหมาย: ศักยภาพระบบจัดการภายในและเครือข่ายสถาบันฯ ระบบการจัดการความเสี่ยง ควบคุมภายใน ทบทวนระเบียบ กฎเกณฑ์ ระบบสารบรรณ จัดซื่อจัดจ้าง บริหารและพัฒนากำลังคน ระบบสารสนเทศ ระบบการจัดการความรู้ (ห้องสมุด) + การสื่อสารความรู้

4 สร้างศักยภาพเพื่อการพัฒนาสังคม สร้างศักยภาพเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์วิจัย สร้างศักยภาพเพื่อการพัฒนาสังคม สร้างศักยภาพเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สร้างศักยภาพทางวิทยาการและทรัพยากรบุคคล เสริมสร้างและพัฒนาทุนรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จัดการความรู้ งานวิจัย เพื่อการใช้ประโยชน์ ปฏิรูปการศึกษา สร้างมูลค่าการผลิตเกษตร ประมง พัฒนานวัตกรรม ความรู้ใหม่ พัฒนาการจัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรฯ ปฏิรูประบบวิจัยประเทศ ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างศักยภาพ HR ในวิทยาการต่างๆ สร้างองค์ความรู้ ดิน และทรัพยากรธรณี พัฒนาศักยภาพการวิจัยประเทศ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค พัฒนาประสิทธิภาพอุตสาหกรรม พัฒนาการจัดการน้ำแบบบูรณาการ พัฒนา&คุ้มครองภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติจากธรรมชาติ พัฒนาศักยภาพการกีฬา พัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานชีวภาพ และทางเลือก พัฒนาศักยภาพหน่วยงานภาครัฐ พัฒนาโลจิสติกส์และการขนส่งสาธารณะ จัดการปัญหายาเสพติด ความปลอดภัย เพิ่มสมรรถนะการแข่งขันด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร สร้างภูมิคุ้มกันท้องถิ่น พัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ สร้างความมั่นคงชาติ ธรรมมาภิบาล ระบบสุขภาพชุมชน, ระบบบริการปฐมภูมิ, ระบบส่งต่อ, สิ่งแวดล้อม vs สุขภาพ, กลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส, การดูแลที่บ้านต่อเนื่อง, เครื่องมือจัดการตนเองสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง, ระบบข้อมูลกำกับติดตาม ประเมิน การแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อเตรียมความพร้อม รองรับ ประเมินเทคโนโลยี, พัฒนาบุคลากร, จัดการความรู้ (ทำงานร่วมกับองค์กรหลัก) พัฒนาศักยภาพการจัดการงานวิจัย/ความรู้ในเครือข่ายวิจัยระบบสุขภาพ เช่น R2R, ร่วมกับองค์กรนโยบายวิจัยชาติกำหนดนโยบาย อื่นๆ เครื่องมือประเมิน (สสจ), ระบบสุขภาพ, องค์กรให้ทุนวิจัย /องค์กรวิจัย, การปรับเปลี่ยนบทบาทองค์กรนโยบายสุขภาพต่างๆเพื่อการบูรณาการ สร้าง platform/กลไก ชั่วคราวพัฒนานโยบายการบูรณาการระบบวิจัยสุขภาพร่วมกับองค์กรนโยบายวิจัย: model ตัวอย่าง สู่ structural reform


ดาวน์โหลด ppt ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google