ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
2
ผู้วินิจฉัยมักไม่พบปัญหาของสถานประกอบการในเบื้องต้นแต่จะค้นพบ “อาการ”
“ลูกค้าหายไป” “พนักงานลาออกมากขึ้น” “กำไรลดลง” ปัญหาของสถานประกอบการ
3
เกิดดอกเบี้ยปรับล่าช้า
Diagnose Tools ต้นทุนทางการเงินสูง ต้นทุนการผลิตสูง สภาพคล่องไม่ดี เกิดดอกเบี้ยปรับล่าช้า เงินนอกระบบสูงมาก ต้องจ่ายดอกเบี้ย วัตถุดิบราคาขึ้น ค่าแรงสูง
4
Fishbone Diagram(Ishikawa)
ผลประกอบการขาดทุน กำไรต่อหน่วยสินค้าลดงเรื่อยๆ ค่าใช้จ่ายสูง ยอดขายลดลง มีคู่แข่งเกิดขึ้น ขาดช่องทางจำหน่าย ลูกค้าหายไป ราคาแพงกว่าคู่แข่ง สินค้าไม่จูงใจ สินค้าขาด นวัตกรรมใหม่ๆ
5
Mind Mapping / Diagnose tools
หมุนเงินไม่ทัน วัตถุดิบแย่ลง ยอดขายลดลง ลูกค้า claim เรื่องคุณภาพสินค้าต่ำลง พนักงานคุณภาพลาออก กระบวนการผลิตล้าสมัย คู่แข่งเพิ่มขึ้น
6
พิจารณาสภาพแวดล้อมเป็นองค์ประกอบเพิ่มเติม
ผลกระทบ สภาพเศรษฐกิจ นโยบายรัฐบาล สภาพทั่วไปของอุตฯ. ข้อมูลวิสาหกิจ
7
การวิเคราะห์และประเมิน
ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน กลุ่มตลาดเป้าหมาย การสร้างความต้องการให้กับกลุ่มเป้าหมาย กระบวนการผลักดันสินค้าไปสู่กลุ่มเป้าหมาย ช่องทางการผลักดันสินค้าไปสู่ผู้บริโภค การผลิตสินค้าและบริการ โครงสร้างองค์กร /ทีมบริหาร /วิสัยทัศน์ผู้บริหาร การวางแผนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ การวางแผนควบคุมเครื่องจักร แรงงาน / การจัดการบุคคล / การบริหารเงินเดือน การจัดซื้อ / การจัดการโซ่อุปทาน / Logistics การวิจัยและพัฒนา การจัดการและการควบคุม การเงินและการควบคุม ข้อมูลอุตสาหกรรม นโยบายรัฐ สภาพเศรษฐกิจ เทคโนโลยี SWOT
8
“การวินิจฉัยจะช่วยหาคำตอบได้ว่ามีคอขวด (Bottle Neck) เกิดขึ้นตรงจุดไหนบ้างในการดำเนินธุรกิจ”
สมาคมนักวินิจฉัยแห่งประเทศไทย สมาคมเครือข่ายที่ปรึกษาและนักวินิจฉัยภาคเหนือ
9
ข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องในการวินิจฉัย
รายงานทางการเงิน งบกำไรขาดทุน งบดุล งบกระแสเงินสด เอกสารการวางแผนงานต่างๆ รายงานการประชุม รายงานยอดขาย คู่มือต่างๆ (Manual) ข้อกำหนดมาตรฐานต่างๆ เอกสารทางกฎหมาย บุคคล : ผู้บริหาร พนักงาน แม่บ้าน ยาม ลูกค้า พนักงานขาย ฯลฯ สถานที่ ตรวจสอบสภาพที่เกิดขึ้นจริงในสถานที่ ปฏิบัติงาน เช่น ภายในสำนักงาน ภายใน โรงงาน ห้องน้ำ ที่จอดรถ ตู้ยาม บริเวณ ที่ตอกบัตรพนักงาน สภาพแวดล้อม โรงงาน ที่อยู่อาศัยพนักงาน ร้านค้ารอบ บริเวณ
10
เทคนิคและวิธีวินิจฉัยสถานประกอบการเบื้องต้น
วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอย่างละเอียดทั้งสภาพแวดล้อม ภายในและภายนอกกิจการ อาจด้วยวิธีสัมภาษณ์ พูดคุย สังเกต ในเบื้องต้น และ ติดตามด้วยวิธีสำรวจหรือวิธีวิจัยในเชิงลึกต่อไป ค้นหาสาเหตุหรือข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับปัญหาของสถานประกอบการ อาทิ ความ ต้องการของลูกค้า ศักยภาพของคู่แข่งขัน สภาพองค์กรในปัจจุบันกับสภาพที่ต้องการ จะเป็นในอนาคต ค้นหาศักยภาพ (Competency) ของตนเองและสามารถดึงออกมาใช้ประโยชน์ได้ ศักยภาพใดไม่มี อย่าเสียเวลาค้นหาหรือฝึกฝน ให้จัดจ้างที่ปรึกษาเข้ามาช่วยเหลือ หากไม่แน่ใจในอาการเหล่านั้น ควรขอความเห็นจากที่ปรึกษาเพิ่มเติมเมื่อวิเคราะห์ แล้วว่าป่วยเป็นโรคใด ก็ให้จัดที่ปรึกษาเข้าให้คำปรึกษาอย่างถูกต้อง อย่าเข้าข้างตนเอง เพราะเป็นการมองปัญหาจากฝั่งตนเอง จึงอาจเกิด BIAS ทั้งใน ด้านลบและด้านบวก ควรจัดจ้างนักวินิจฉัยสถานประกอบการให้ถูกต้องตามหลักการ วินิจฉัยจะได้ผลกว่า
11
ข้อมูลของสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยธุรกิจ
สมาคมนักวินิจฉัยแห่งประเทศไทย สมาคมเครือข่ายที่ปรึกษาและนักวินิจฉัยภาคเหนือ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 เชียงใหม่
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.