งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศท.1401 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารนิเทศ ศศ สารนิเทศเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศท.1401 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารนิเทศ ศศ สารนิเทศเบื้องต้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศท.1401 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารนิเทศ ศศ.11110 สารนิเทศเบื้องต้น
Introduction to Information Science Introduction to Information Science

2 1. ศึกษา ความหมาย ความสำคัญ:
วัตถุประสงค์ รายวิชา 1. ศึกษา ความหมาย ความสำคัญ: ของสารสนเทศ ต่อบุคคล ชุมชน และ สังคม หรือ องค์กร 2. ประวัติ และ วิวัฒนาการ ของสารสนเทศ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. การเข้าถึงสารสนเทศ สถาบันบริการสารสนเทศ และ แหล่งความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. การเลือกใช้เครื่องมือ ช่องทาง ในการสืบค้น รับ-ส่ง สารสนเทศ นักศึกษา สามารถเลือกใช้ เครื่องมือ ช่องทาง ในการสืบค้น ศึกษาค้นคว้า การจัดทำ ระบบสารนิเทศ ของบุคคล ชุมชน สังคม หรือ องค์กร เพื่อเผยแพร่ สารสนเทศดังกล่าว สู่โลกออนไลน์ Introduction to Information Science

3 ความหมาย ความสำคัญ ประวัติ วิวัฒนาการ
เนื้อหา และ สารสำคัญ บบที่ 1. สารสนเทศ ความหมาย ความสำคัญ ประวัติ วิวัฒนาการ บทที่ 2. สถาบันบริการสารสนเทศ (information retrieval) บทบาท หน้าที่ ภารกิจ ประเภท บทที่ 3. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ นิยาม ความหมาย องค์ประกอบ สื่อออนไลน์ บทที่ 4. การจัดระบบสารสนเทศ mind map, metrix, presentation บทที่ 5. กฎหมาย และ จริยธรรม ในสารสนเทศ Introduction to Information Science

4 1. รายงาน การค้นคว้า (งานส่วนบุคคล) (30%)
การประเมินผล 1. รายงาน การค้นคว้า (งานส่วนบุคคล) (30%) 2. การนำเสนองานค้นคว้า และการจัดระบบข้อมูล (งานกลุ่ม) mind map, matrix (30%) 3. กิจกรรมการมีส่วนร่วม ในชั้นเรียน (30%) 4. สอบกลางภาค (30%) 5. สอบปลายภาค (30%) Introduction to Information Science

5 Information System Introduction to Information Science

6 ความหมาย ความสำคัญ ประวัติ วิวัฒนาการ
บทที่ 1 สารสนเทศ บบที่ 1. สารสนเทศ ความหมาย ความสำคัญ ประวัติ วิวัฒนาการ บทที่ 2. สถาบันบริการสารสนเทศ (information retrieval) บทบาท หน้าที่ ภารกิจ ประเภท บทที่ 3. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ นิยาม ความหมาย องค์ประกอบ สื่อออนไลน์ บทที่ 4. การจัดระบบสารสนเทศ mind map, metrix, presentation บทที่ 5. กฎหมาย และ จริยธรรม ในสารสนเทศ Introduction to Information Science

7 ข้อมูลและสารสนเทศ (Information) ความหมาย:
บทที่ 1 สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ (Information) ความหมาย: -ข้อมูล (data) คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนำไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว -สารสนเทศ (information) คือ การประมวลข้อมูลระดับ data ให้เป็น สารสนเทศ (Information) [search, add, edit, delete, print] -นำไปสู่ความรู้ (Knowledge) -นำไปใช้ แก้ปัญหา และ ดำเนินงาน Introduction to Information Science

8 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) ความหมาย:
บทที่ 1 สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) ความหมาย: -อุปกรณ์ เครื่องมือ ที่เกี่ยวข้องกับ การรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศ -ฮาร์ดแวร์ -ซอฟต์แวร์ -ฐานข้อมูล และ -การสื่อสาร โทรคมนาคม Introduction to Information Science

9 ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ (Management Information System) ความหมาย:
บทที่ 1 สารสนเทศ ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ (Management Information System) ความหมาย: ระบบที่รวบรวม ประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ สารสนเทศ เพื่อใช้ในการวางแผน การพัฒนาตัดสินใจ ประสานงาน และควบคุมการดำเนินงาน [search, add, edit, delete, print] Introduction to Information Science

10 บทที่ 1 สารสนเทศ (2) ระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer-based information systems : CBIS) องค์ประกอบ 6 ส่วน -ฮาร์ดแวร์ (hardware) -ซอฟต์แวร์ (software) -ฐานข้อมูล (database) -เครือข่าย (network) -กระบวนการ (procedure) และ -คน (people) Introduction to Information Science

11 ลักษณะสารสนเทศที่ดี เนื้อหา (Content)
บทที่ 1 สารสนเทศ ลักษณะสารสนเทศที่ดี เนื้อหา (Content) -ความสมบูรณ์ครอบคลุม (completeness) -ความสัมพันธ์กับเรื่อง (relevance) -ความถูกต้อง (accuracy) -ความเชื่อถือได้ (reliability) -การตรวจสอบได้ (verifiability) -รูปแบบ (Format) ชัดเจน (clearity) -ระดับรายละเอียด (level of detail) -รูปแบบการนำเสนอ (presentation) -สื่อการนำเสนอ (media) -ความยืดหยุ่น (flexibility) -ประหยัด (economy) เวลา (Time) Introduction to Information Science

12 ความรวดเร็วและทันใช้ (timely)
บทที่ 1 สารสนเทศ ลักษณะสารสนเทศที่ดี ความรวดเร็วและทันใช้ (timely) -การปรับปรุงให้ทันสมัย (up-to-date) -มีระยะเวลา (time period) -กระบวนการ (Process) ความสามารถในการเข้าถึง (accessibility) -การมีส่วนร่วม (participation) -การเชื่อมโยง (connectivity) Introduction to Information Science

13 ประโยชน์ของ ระบบสารสนเทศ IS ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency)
บทที่ 1 สารสนเทศ ประโยชน์ของ ระบบสารสนเทศ IS ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) -รวดเร็ว การประมวลผล และ การเข้าถึง (access) [search, add, edit, delete, print] -ลดต้นทุน ต้นทุนมีอะไรบ้าง -เครือข่าย ติดต่อสื่อสารรวดเร็ว ผ่าน คอมพิวเตอร์ (online) *machine to machine *human to human *human to machine *ข้อความ เสียง ภาพนิ่ง และ ภาพเคลื่อน -การประสานงานระหว่างฝ่ายต่างๆ Introduction to Information Science

14 ประโยชน์ของ ระบบสารสนเทศ IS ด้านประสิทธิผล (Effectiveness)
บทที่ 1 สารสนเทศ ประโยชน์ของ ระบบสารสนเทศ IS ด้านประสิทธิผล (Effectiveness) -สามารถ ช่วยตัดสินใจ สำหรับผู้บริหาร (Decision support systems) หรือระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Executive support systems) -สามารถ ช่วยเลือกผลิตสินค้า /บริการ ที่เหมาะสม (ผู้บริโภค) -สามารถ ช่วยปรับปรุงคุณภาพสินค้า /บริการ -สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) -ช่วยสร้างเสริมคุณภาพชีวิตการทำงาน Introduction to Information Science

15 บทที่ 1 สารสนเทศ ตัวอย่าง IS Introduction to Information Science

16 สื่อสารมวลชน ผลประโยชน์ profit วิกฤติ ปัญหา จรรยาบรรณ ethics
ตัวอย่าง IS สื่อสารมวลชน ผลประโยชน์ profit สื่อมวลชน (mass media communication) การแพร่กระจาย ข่าวสาร media process สถานการณ์ ถูกต้อง เป็นจริง ชอบธรรม จรรยาบรรณ ethics วิกฤติ ปัญหา conflict crisis ประเด็นเป็นข่าว (topic / issue) Introduction to Information Science

17 พื้นฐานการเมืองของประเทศไทย
ตัวอย่าง IS พื้นฐานการเมืองของประเทศไทย การเมือง ภาคประชาชน ความสัมพันธ์ 3 ด้าน 1. อำนาจ สิทธิ 2. ภารกิจ หน้าที่ รับผิดชอบ อิสรภาพ 3. ความจงรักภักดี เสรีภาพ การเมือง ภาครัฐ การเมือง ท้องถิ่น การเมือง ภาค เอกชน วงแหวนการเมือง Introduction to Information Science

18 ระบบความคิดสร้างสรรค์
ตัวอย่าง IS ABILITY ความสามารถ SKILL ทักษะ MOTIVATE แรงจูงใจ ระบบความคิดสร้างสรรค์ CREAVITY Introduction to Information Science

19 | พฤติกรรม ความสุข กระบวนทัศน์ วิสัยทัศน์ เปลี่ยน พอเพียง
ตัวอย่าง IS ทฤษฎีระบบ | พฤติกรรม ความสุข กระบวนทัศน์ สิ่งที่ต้องทำ: 1. ร่วมสัมมนาประสบการณ์จากการฝึกงานของนักศึกษารุ่นพี่ 2. สร้างเข็มมุ่งใหม่ New dimension thinking "เข็มมุ่งของเวลา คือ การรักษาความเที่ยงตรง เข็มมุ่งของการแสวงหา คือ การค้นพบสิ่งที่พึงพอใจ" -มาตรฐานรูปแบบ (การแต่งกาย) -มาตรฐานเวลา (มาเรียน/ทำงาน ตรงเวลา) -มาตรฐานปริมาณ (ได้เนื้องานในกำหนดเวลา) -มาตรฐานคุณภาพ 4A(กล้า อดกลั้น พยายาม สามารถ audacity ashamed attempt ability) -มาตรฐานคุณค่า (ดี. ถูก. จริง. ประโยชน์. แก้ปัญหาได้ เป็นไปได้.) 3. ทำรายงานเชิงวิจัย กระบวนการวิเคราะห์ 1. กำหนด paradigm ให้กับตนเอง สำรวจพื้นฐานความคิด ภูมิปัญญา วิสัยทัศน์ ของตัวเอง เลือกที่เป็น สัมมาทิฐิ 2. เลือกทฤษฎีให้เหมาะสม และที่สากลยอมรับ 3. ค้นหาข้อเท็จจริง แยกหมวดหมู่ ให้ตรงกับทฤษฎี 4. วิเคราะห์เปรียบเทียบว่า เหมือน แตกต่าง หรือ สัมพันธ์ อย่างไรกับ ทฤษฎี 4. มีองค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง -ความหมาย ความสำคัญ -สร้างตัวชี้วัดและแนวทางปฏิบัติ ให้กับตนเอง 5. มีความรู้และทักษะในสาขาวิชา -ทำรายงาน -สอบภาคความรู้ 6. มีกลยุทธ์ หรือชิ้นงาน -เขียนโครงการผลิตชิ้นงาน -ผลิตชิ้นงาน วิสัยทัศน์ เปลี่ยน พอเพียง Introduction to Information Science 19

20 เทคโนโลยี ลดการสูญเสีย
ตัวอย่าง IS ระบบ เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficient Economy) | ผลิต-แปรรูป จำหน่าย บริโภค ปลูก-สร้าง สิ่งที่ต้องทำ: 1. ร่วมสัมมนาประสบการณ์จากการฝึกงานของนักศึกษารุ่นพี่ 2. สร้างเข็มมุ่งใหม่ New dimension thinking "เข็มมุ่งของเวลา คือ การรักษาความเที่ยงตรง เข็มมุ่งของการแสวงหา คือ การค้นพบสิ่งที่พึงพอใจ" -มาตรฐานรูปแบบ (การแต่งกาย) -มาตรฐานเวลา (มาเรียน/ทำงาน ตรงเวลา) -มาตรฐานปริมาณ (ได้เนื้องานในกำหนดเวลา) -มาตรฐานคุณภาพ 4A(กล้า อดกลั้น พยายาม สามารถ audacity ashamed attempt ability) -มาตรฐานคุณค่า (ดี. ถูก. จริง. ประโยชน์. แก้ปัญหาได้ เป็นไปได้.) 3. ทำรายงานเชิงวิจัย กระบวนการวิเคราะห์ 1. กำหนด paradigm ให้กับตนเอง สำรวจพื้นฐานความคิด ภูมิปัญญา วิสัยทัศน์ ของตัวเอง เลือกที่เป็น สัมมาทิฐิ 2. เลือกทฤษฎีให้เหมาะสม และที่สากลยอมรับ 3. ค้นหาข้อเท็จจริง แยกหมวดหมู่ ให้ตรงกับทฤษฎี 4. วิเคราะห์เปรียบเทียบว่า เหมือน แตกต่าง หรือ สัมพันธ์ อย่างไรกับ ทฤษฎี 4. มีองค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง -ความหมาย ความสำคัญ -สร้างตัวชี้วัดและแนวทางปฏิบัติ ให้กับตนเอง 5. มีความรู้และทักษะในสาขาวิชา -ทำรายงาน -สอบภาคความรู้ 6. มีกลยุทธ์ หรือชิ้นงาน -เขียนโครงการผลิตชิ้นงาน -ผลิตชิ้นงาน ทดแทน Recycle เทคโนโลยี ลดการสูญเสีย มลพิษขยะ Introduction to Information Science 20

21 การผลิต การตลาด การขนส่ง การสื่อสาร การบริโภค
ตัวอย่าง IS ระบบ เครือข่าย (Networking) การผลิต การตลาด การขนส่ง การสื่อสาร การบริโภค | ผลิต พัฒนา สร้าง องค์การ ข้อตกลง ข่าวสาร สิ่งที่ต้องทำ: 1. ร่วมสัมมนาประสบการณ์จากการฝึกงานของนักศึกษารุ่นพี่ 2. สร้างเข็มมุ่งใหม่ New dimension thinking "เข็มมุ่งของเวลา คือ การรักษาความเที่ยงตรง เข็มมุ่งของการแสวงหา คือ การค้นพบสิ่งที่พึงพอใจ" -มาตรฐานรูปแบบ (การแต่งกาย) -มาตรฐานเวลา (มาเรียน/ทำงาน ตรงเวลา) -มาตรฐานปริมาณ (ได้เนื้องานในกำหนดเวลา) -มาตรฐานคุณภาพ 4A(กล้า อดกลั้น พยายาม สามารถ audacity ashamed attempt ability) -มาตรฐานคุณค่า (ดี. ถูก. จริง. ประโยชน์. แก้ปัญหาได้ เป็นไปได้.) 3. ทำรายงานเชิงวิจัย กระบวนการวิเคราะห์ 1. กำหนด paradigm ให้กับตนเอง สำรวจพื้นฐานความคิด ภูมิปัญญา วิสัยทัศน์ ของตัวเอง เลือกที่เป็น สัมมาทิฐิ 2. เลือกทฤษฎีให้เหมาะสม และที่สากลยอมรับ 3. ค้นหาข้อเท็จจริง แยกหมวดหมู่ ให้ตรงกับทฤษฎี 4. วิเคราะห์เปรียบเทียบว่า เหมือน แตกต่าง หรือ สัมพันธ์ อย่างไรกับ ทฤษฎี 4. มีองค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง -ความหมาย ความสำคัญ -สร้างตัวชี้วัดและแนวทางปฏิบัติ ให้กับตนเอง 5. มีความรู้และทักษะในสาขาวิชา -ทำรายงาน -สอบภาคความรู้ 6. มีกลยุทธ์ หรือชิ้นงาน -เขียนโครงการผลิตชิ้นงาน -ผลิตชิ้นงาน think GLOBALY act LOCALLY communicate HUMILITY :อยู่ แบบพึ่งพา :คิด แบบพอเพียง :พูด ให้พากเพียร :ทำ เพื่อผู้อื่น :บริโภค แต่พอดี อาหารปลอดภัย คุณภาพชีวิต สุขภาวะ Introduction to Information Science 21

22 EDUCATION โรงเรียน - การศึกษา
ตัวอย่าง IS PYRAMIDALNETWORK One for All All for One RELIGION วัด - ศาสนา COMMUNITY บ้าน - ชุมชน Communication Organization Community EDUCATION โรงเรียน - การศึกษา Introduction to Information Science

23 The Future of Thailand ? Introduction to Information Science

24 ของดีก่อนจาก ของฝากก่อนลา
“ทุกข์” มีไว้ให้ “เห็น” มิใช่มีไว้ให้ “เป็น” “สุข” มีไว้สำหรับ “เป็น” แม้จะ ไม่เห็น “ทุกข์” คือ ต้นทุน ในการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหา “สุข” คือ กำไร ที่ได้รับจาก การแก้ปัญหา ทั้ง ทุกข์ และ สุข เป็นเพียง “ความรู้สึก” ที่เห็นได้ และ เป็นจริง แต่ “ความรู้สึก” เป็น อารมณ์ที่ แปรปรวน การกำจัด “อารมณ์แปรปรวน” เสียได้ คือ “สมาธิ” ดังนั้น “สมาธิ” จึงปราศจาก ทั้ง สุข และ ทุกข์. Introduction to Information Science

25 ของดีก่อนจาก ของฝากก่อนลา
คิด แค่ พอเพียง พูด ให้ พากเพียร ทำ แบบ ไม่พัก–ไม่เพียร อยู่ แบบ พึ่งพา บริโภค แบบ พอดี สู่วิถี พุทธภูมิ (บ ว ร) “เพราะเราไม่พัก เราไม่เพียร เราจึงอยู่อย่างพอเพียงได้” Introduction to Information Science


ดาวน์โหลด ppt ศท.1401 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารนิเทศ ศศ สารนิเทศเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google