ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
2
จุดเริ่มต้น จากการประเมินตนเอง (Self assessment)ในปี 2548
การถ่ายทอด / สื่อสารไปยังบุคลากร ทุกระดับ
3
กำหนดการประชุมทุกวันศุกร์สุดท้าย ของเดือน เวลา 13.30 – 16.00 น.
จัดตั้งทีมทำงาน 2 พค คน ทีมแกนนำ PMQA คน ทีมทำงาน คน กำหนดการประชุมทุกวันศุกร์สุดท้าย ของเดือน เวลา – น. มีตัวแทนจากแต่ละงานเป็นสมาชิก จำนวน 35 งาน
4
COP ครั้งแรก ประชุมวันที่ 30 พฤษภาคม 2550 ที่ปรึกษา
นพ.ภิศักดิ์ เลิศเรืองปัญญา ทพญ.ธนัชพร บุญเจริญ นางอำนวยศรี เอกมณี ทีมบริหารกลุ่มการพยาบาล
5
Facilitator คุณมยุรา (ห้องคลอด) คุณนงนุช (ห้องผ่าตัด)
คุณมยุรา (ห้องคลอด) คุณนงนุช (ห้องผ่าตัด) คุณพรรณนฤมิตร (ให้คำปรึกษา) คุณกฤษณา (วัยเรียน) คุณสุธีรา (จ่ายกลาง)
6
Note taker คุณณัฐชา (คัดกรอง) คุณลำดวน (คลินิกฝากครรภ์)
คุณณัฐชา (คัดกรอง) คุณลำดวน (คลินิกฝากครรภ์) คุณปนัดดา (สถานเลี้ยงเด็กกลางวัน) คุณวิทชุดา (งานพัสดุ) คุณนวลฉวี (งานวัยเรียน)
7
ประธาน อัญชลี เศรษฐเสถียร รองประธาน คุณวิภาพร (กลุ่มการพยาบาล)
8
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้พื้นฐานของ KM –PMQA
และ COP โดย ทพญ.ธนัชพร บุญเจริญ การบริหารจัดการภาครัฐ ถามความเข้าใจเกี่ยวกับ PMQA ของแต่ละงาน
9
COP ครั้งที่ 2 เล่าสู่กันฟัง จาก COP ความพึงพอใจ ความรู้พื้นฐานของ PMQA ลักษณะสำคัญขององค์กร เกณฑ์ 7 หมวด การดำเนินงาน 9 ขั้นตอน
10
COP ครั้งที่ 3 10 ข้อปฏิบัติในการพัฒนาหน่วยงาน
10 ข้อปฏิบัติในการพัฒนาหน่วยงาน ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ การนำไปถ่ายทอดในหน่วยงาน ปรับเปลี่ยนเวลาจาก น.เป็น น. ประสานกับหัวหน้างานในการจัดเวร
11
HOME WORK ลักษณะพื้นฐานของหน่วยงาน ข้อมูลหน่วยงาน วิสัยทัศน์
พันธกิจ /บทบาทหน้าที่ วัฒนธรรมองค์กร อุปกรณ์อำนวยความสะดวก ในการปฏิบัติงาน
12
COP ครั้งที่ 4 เล่าสู่กันฟัง สุนทรียสนทนา โดย พี่อ้อย ( มณฑิรา )
เล่าสู่กันฟัง สุนทรียสนทนา โดย พี่อ้อย ( มณฑิรา ) นำเสนอลักษณะสำคัญขององค์กร ของแต่ละงาน
13
คลินิกเด็กป่วยและตรวจโรคทั่วไป
COP PMQA คลินิกเด็กป่วยและตรวจโรคทั่วไป
14
HOME WORK ความสัมพันธ์ภายใน /ภายนอกองค์กร โครงสร้างองค์กร
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ลักษณะที่สำคัญในการปฏิบัติงานร่วมกัน ผู้รับบริการ /ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความต้องการและความคาดหวัง วิธีการในการสื่อสาร
15
COP ครั้งที่ 5 และ 6
16
HOME WORK แบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม มี Facilitator ความท้าทายต่อองค์กร
กลุ่มละ 2 คน ความท้าทายต่อองค์กร สภาพการแข่งขัน ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ
17
COP ครั้งที่ 7
18
COP ครั้งที่ 8 ลักษณะสำคัญขององค์กรภาพรวมของศูนย์ฯ
คำถามลักษณะสำคัญขององค์กร 15 ข้อ การนำไปถ่ายทอดในหน่วยงาน จัดทำแฟ้มให้แต่ละงาน
19
COP ครั้งที่ 9 วิดิทัศน์การพัฒนาคุณภาพการบริหาร
จัดการภาครัฐ โดยใช้ PMQA หมวดที่ 1 การนำองค์และคำถาม 11 ข้อ แสดงความยินดีกับสมาชิก COP
20
COP ครั้งที่ 10 เล่าสู่กันฟังจากการประชุม KM-PMQA Story telling
รุ่นที่ 2 (18-19 กพ.51) Story telling Facilitator Note taker ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ตารางอิสรภาพ การใช้แบบฟอร์ม AAR และ BAR โดย ทพญ.ธนัชพร บุญเจริญ
21
COP ครั้งที่ 11 เล่าสู่กันฟังจากการประชุม PMQA กรมฯ (24-25 มีค.51)
แนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่ 12 ระดับกรม,หน่วยงาน การฝึกประเมินตนเองตามแนวทาง ADLI และ LETCLI การ Revise คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการของศูนย์ฯ คณะกรรมการอำนวยการ,หมวดต่างๆ และ คณะกรรมการขับเคลื่อน PMQA เริ่มใช้แบบฟอร์ม AAR
22
1.ท่านคาดหวังอะไรบ้างจากการประชุมครั้งนี้
2.สิ่งที่ท่านได้รับตามที่คาดหวังได้แก่อะไรบ้าง 3.สิ่งที่ท่านได้รับโดยไม่คาดหวังได้แก่อะไรบ้าง 4.ท่านคาดว่าจะนำความรู้ไปพัฒนางานอย่างไรบ้าง
23
COP ครั้งที่ 12 คู่มือ PMQA ปี 2551 (ปรับเกณฑ์)
แนวทางการตอบคำถามหมวด 1-6 (ADLI) แนวทางการตอบคำถาม หมวด 7 (LETCLI) แลกเปลี่ยนเรียนรู้สิ่งที่ได้และการนำไป พัฒนาในหน่วยงาน โดย นพ.ภิศักดิ์ เลิศเรืองปัญญา
24
COP ครั้งที่ 13 เล่าสู่กันฟังจากการประชุม PMQA กรมฯ (1-2 พค.51)
แนวทางการตอบคำถามในแต่ละหมวด หมวดที่ 1 และคำถาม 11 ข้อ แบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม ตอบคำถามและนำเสนอ สรุปภาพรวมคำตอบหมวด 1 ของศูนย์ฯ
25
โอกาสในการพัฒนา การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
การติดตามไปยังแต่ละหน่วยงาน การถ่ายทอด / สื่อสาร ภายในหน่วยงาน การนำเสนอในเวที KM การลงข้อมูลทาง Web site การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง COP การเชื่อมโยงกับคณะกรรมการ กพร.ของศูนย์ฯ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.