งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดทำทะเบียนมะเร็ง CANCER REGISTRATION

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดทำทะเบียนมะเร็ง CANCER REGISTRATION"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดทำทะเบียนมะเร็ง CANCER REGISTRATION
Karnchana Daoprasert,RN Lamapang Cancer Registry Unit Lampang Cancer Center

2 History : Cancer in Thailand
Since 1985 Chiang Mai (1989) Cancer in Thailand Vol. I (1993) Cancer in Thailand Vol. II(1999) Cancer in Thailand Vol. III(2003) Cancer in Thailand 1998 – 2000 Vol.IV (2006)*

3 History : Cancer in Lampang
Cancer Incidence in Lampang Vol.II (2002) Cancer Mortality in Lampang (2003) Cancer Incidence and Mortality in Lampang Vol. III (2004) Cancer Survival in Lampang, (2005)

4 History : Cancer in Northern of Thailand
Cancer Incidence in Lamphun , (2006)* Phisanulok, (2006)*

5 Cancer Registration Definition :
Continuing process and Systematic collection of data The overall aim of cancer registration is to assess and control the impact of cancer on the community (population)

6 Cancer Registration The cancer registry
(หน่วยงานทะเบียนมะเร็ง) is the office or institution which attempts to collect, store, analyze and interpret data on persons with cancer.

7 Cancer Registration Hospital- based cancer registry
Population- based cancer registry

8 Hospital- based cancer registry
is concerned with : work load of hospital for cancer improving the care of patients in hospitals. evaluation of treatment.

9 Hospital- based cancer registry
collect data in new cancer cases in that hospitals without knowledge of the background population (the emphasis is on clinical care and hospital administration) number of new cancer cases per year (1 Janyary-31 December) provided relative frequency (%) by site

10 ตัวอย่างแผนผังการดำเนินงาน Hospital- based cancer registry
แหล่งข้อมูล -ผู้ป่วยนอก, ผู้ป่วยใน, พยาธิวิทยา . หน่วยงานทะเบียนมะเร็ง - ตรวจสอบข้อมูล,เช็คซ้ำซ้อน - บันทึกข้อมูล - วิเคราะห์ข้อมูล รายงานประจำปี

11 Hospital- based cancer registry
10 อันดับผู้ป่วยที่มารับบริการศูนย์มะเร็ง ลำปาง 2548

12 Population-based cancer registry

13 Population-based cancer registry
is concerned with: assessing the impact of cancer on the community.

14 SOURCE OF INFORMATION CANCER REGISTRY CLINICS CLINICS LABORATORIES
VITAL STATISTICS DEATH CERTIFICATES VITAL STATISTICS DEATH CERTIFICATES HOSPITAL HOSPITAL

15 Cancer registration methodology
New cancer cases in OPD and IPD Information: Registry number, name, residential address, date of birth, age, sex, date of DX, site, histo., date of last contact, status of patient, DX method, extension, staging (TNM), treatment, cost and follow-up.

16

17

18 การเก็บข้อมูลทะเบียนมะเร็ง
Patient Identification Cancer identification Stage of disease at diagnosis Treatment Follow-up

19 ตัวแปรในการเก็บข้อมูลทะเบียนมะเร็ง
PERSONAL IDENTIFICATION Personal Identification Number Names Sex Date of birth Address Marital status Nationality Ethnic group Religion

20 ตัวแปรในการเก็บข้อมูลทะเบียนมะเร็ง
Occupation & Industry Year of immigration Country of birth of father/mother

21 ตัวแปรในการเก็บข้อมูลทะเบียนมะเร็ง
The Tumour Cancer identification Incidence date Most valid basis of diagnosis Site of Primary Histology Behaviour Extent of Disease/Stage Site(s) of metastases Multiple primaries

22 ตัวแปรในการเก็บข้อมูลทะเบียนมะเร็ง
Outcome Follow up Data Date of last contact/ Date of death Status at last contact >alive >dead >unknown Cause of death >dead of this cancer > dead of other cause

23 Cancer registration methodology
Data collection : 3 way Active collection : Collection at source by registry staff visiting, abstracting, coding Passive collection : Notification by health care workers (notification forms) Copies of discharge forms, pathology reports, death certificates Mixture collection (Active+Passive)

24 เปรียบเทียบวิธีการเก็บข้อมูล
Active collection ข้อดี ของบประมาณได้มากและง่าย สามารถเริ่มเก็บข้อมูลได้ทันที ถ้าบุคลากรมีคุณภาพ ข้อมูลเก็บได้ครบถ้วน บุคลากรได้ไปเก็บถึงแหล่งข้อมูล

25 เปรียบเทียบวิธีการเก็บข้อมูล
Active collection ข้อเสีย เป็นภาระของทีมงาน ใช้บุคลากรมาก ค่าใช้จ่ายสูง ได้รับความร่วมมือน้อย งานสำเร็จยาก มีความล่าช้า ถ้าบุคลากรไม่มีคุณภาพ ข้อมูลไม่ครบถ้วน

26 เปรียบเทียบวิธีการเก็บข้อมูล
Passive collection ข้อดี ได้จำนวนข้อมูลครบถ้วน ได้มีการติดตามผู้ป่วย หน่วยงานทะเบียนมะเร็งลดภาระงานไม่ต้องใช้บุคลากรมาก ทุกคนมีส่วนร่วม

27 เปรียบเทียบวิธีการเก็บข้อมูล
Passive collection ข้อเสีย บุคลากรในแต่ละโรงพยาบาลเปลี่ยนบ่อย ขาดความต่อเนื่อง ข้อมูลสำคัญไม่ครบถ้วน

28 Cancer registration methodology
ขั้นตอนอื่นๆ Coding ICD- O (ตำแหน่งมะเร็งและผลพยาธิวิทยา) บันทึกข้อมูลในโปรแกรม Canreg เช็คซ้ำซ้อนของข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล

29 5 อันดับแรกโรคมะเร็งของจังหวัดลำปาง (เพศชาย)พ.ศ.2541-2545
ที่มา : Cancer incidence and mortality in lampang, Thailand Vol. III,

30 5 อันดับแรกโรคมะเร็งของจังหวัดลำปาง(เพศหญิง)พ.ศ.2541-2545
ASR ต่อ 100,000 ที่มา : Cancer incidence and mortality in lampang, Thailand Vol. III,

31 ตัวอย่างแผนผังการดำเนินงาน Population- based cancer registry
แหล่งข้อมูล - รพ. ชุมชน, สสอ.,รพศ.,รพ.เอกชน ข้อมูลไม่ครบถ้วน ส่งกลับ หน่วยงานทะเบียนมะเร็ง - ตรวจสอบข้อมูล,เช็คซ้ำซ้อน รายเก่า เติมข้อมูล/แก้ไขข้อมูล รายใหม่ ให้รหัสและบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล รายงาน

32 Uses Of Cancer Registry Data
Describe the extent and nature of the cancer burden in the community Epidemiology Research Planning of cancer control programs. Evaluation of cancer care programs : primary prevention - screening and early detection - treatment

33 ปัญหาจากการเก็บข้อมูลทะเบียนมะเร็ง
ชื่อ-นามสกุล, เพศ,ที่อยู่ไม่ชัดเจน สะกดไม่ถูกต้อง ไม่มีอายุหรือวันเดือนปีเกิด วันวินิจฉัย ไม่มีข้อมูล/ข้อมูลไม่ครบ ขาดรายละเอียดของการให้ระยะของโรค ส่งแบบรายงานมาซ้ำซ้อนในครั้งเดียวกัน

34 สารก่อมะเร็งจากการประกอบอาชีพ
มะเร็งปอด แอสเบสตอส พบในโรงงานผลิตฉนวนกันความร้อน โรงงานผ้าเบรกหรือผู้ที่สัมผัสฝุ่นจากผ้าเบรกเป็นประจำ สารซิลิกา พบในโรงงานโม่หินและโรงงานทำครก ก๊าซเรดอน พบในเมืองแร่ยูเรเนียม

35 สารก่อมะเร็งจากการประกอบอาชีพ
มะเร็งตับ ผู้ที่สัมผัสกับสารเคมีไวนิลคลอไรด์ และอาร์ซินิค มะเร็งตับอ่อน ผู้ที่สัมผัสกับสารเคมีไฮโดรคาร์บอน เบนซีน มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ผู้ที่ทำงานในอุตสาหกรรมเคมี ยาง สี และการทอผ้า (เนื่องจากสัมผัสสารกลุ่ม arylamines)

36 สารก่อมะเร็งจากการประกอบอาชีพ
มะเร็งบริเวณช่องปากและคอหอย ผู้ที่ทำงานในโรงงานทอผ้าและโรงพิมพ์ มะเร็งบริเวณกล่องเสียง ผู้ที่สัมผัสสารแอสเบส น้ำมันเชื้อเพลิง ไอเสียเครื่องยนต์ แก๊สมัสตาร์ด กรดซัลฟูริค ยางพารา ขี้เลื่อย มะเร็งของช่องจมูกและไซนัส ผู้ที่ทำงานอาชีพช่างไม้

37 Thank you


ดาวน์โหลด ppt การจัดทำทะเบียนมะเร็ง CANCER REGISTRATION

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google