ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
2
แนวคิด หลักการ กศน.ตำบล
1. ยึดชุมชนเป็นฐาน 2. ใช้ทุนของชุมชน 3. การมีส่วนร่วมของชุมชน
3
วัตถุประสงค์ กศน.ตำบล 1. เป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ส่งเสริมสนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมใน การจัด กศน. 3. ประสานและเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน
4
การดำเนินงาน กศน.ตำบล 1. การบริหารจัดการ 1.1 ด้านกายภาพ - อาคารสถานที่ - สื่อ วัสดุ ครุภัณฑ์ 1.2 ด้านบุคลากร / องค์คณะบุคคล - คณะกรรมการ กศน.ตำบล - หัวหน้า กศน.ตำบล - ครู กศน. ประเภทต่าง ๆ - อาสาสมัคร - ภาคีเครือข่าย
5
1.3 ด้านกิจกรรม - ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของชุมชน (Information Center) - ศูนย์สร้างโอกาสการเรียนรู้ (Opportunity Center) - ศูนย์การเรียนชุมชน (Learning Center) - ศูนย์ชุมชน (Community Center)
6
1.4 การนิเทศ ติดตาม และรายงานผล - การนิเทศติดตามผลการจัดกิจกรรมตาม แผนปฏิบัติการประจำปี - การรายงานผลการการจัดกิจกรรมตาม
7
บทบาทหน้าที่ของหัวหน้า กศน.ตำบล
1. การวางแผน - จัดทำฐานข้อมูลของตำบล - จัดทำแผนพัฒนา กศน.ตำบล - จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 2. การจัดและส่งเสริม กศน. ในตำบล 3. บริการการเรียนรู้ในชุมชนร่วมกับภาคีเครือข่าย 4. สร้างและพัฒนาเครือข่าย 5. ประชาสัมพันธ์ 6. รายงานผลการปฏิบัติงาน
8
ประเด็นอภิปรายกลุ่ม กลุ่มที่ 1 บทบาทสำนักงาน กศน. ในการส่งเสริมสนับสนุน กศน.ตำบล กลุ่มที่ 2 บทบาท สถาบัน กศน.ภาคในการส่งเสริมสนับสนุน กลุ่มที่ 3 บทบาท กศน.จังหวัด ในการสร้างเสริมสนับสนุน กลุ่มที่ 4 บทบาท กศน.อำเภอ ในการส่งเสริมสนับสนุน
9
ข้อมูล กศน.ตำบล ภาพรวมทั่วประเทศ ภาพรวมของ กทม.
ประกาศจัดตั้งแล้วทั้งหมด 7,400 แห่ง จากเป้าหมาย ทั้งหมด 7,409 แห่ง ภาพรวมของ กทม. - มีแขวงทั้งหมด แห่ง - ประกาศจัดตั้งแล้ว 154 แห่ง
10
ข้อมูล กศน.ตำบล ภาพรวมทั่วประเทศ ภาพรวมของ ภาคกลาง
ประกาศจัดตั้งแล้วทั้งหมด 7,400 แห่ง จากเป้าหมาย ทั้งหมด 7,409 แห่ง ภาพรวมของ ภาคกลาง - มีตำบลทั้งหมด 1,360 แห่ง - ประกาศจัดตั้งแล้ว 1,358 แห่ง
11
ภาพรวมของ ภาคตะวันออก
ข้อมูล กศน.ตำบล ภาพรวมทั่วประเทศ ประกาศจัดตั้งแล้วทั้งหมด 7,400 แห่ง จากเป้าหมาย ทั้งหมด 7,409 แห่ง ภาพรวมของ ภาคตะวันออก - มีตำบลทั้งหมด 572 แห่ง - ประกาศจัดตั้งแล้ว 571 แห่ง
12
คู่มือการปฏิบัติงาน หัวหน้า กศน.ตำบล
สำนักงาน กศน.ได้จัดการพิมพ์ คู่มือปฏิบัติงาน หัวหน้า กศน.ตำบล เสร็จแล้ว และได้จัดส่งให้ สำนักงาน กศน.จังหวัด และสถานศึกษาขึ้นตรงทุกแห่ง เมื่อวันที่ 3 ก.พ. 54 ให้สำนักงาน กศน.จำหวัด/กทม. และกศน.อำเภอ/เขต ได้ทำการประชุมชี้แจง หัวหน้า กศน.ตำบล และผู้เกี่ยวข้องให้เข้าใจบทบาทหน้าที่ที่จะต้องดำเนินการให้ชัดเจน เพื่อนำสู่การปฏิบัติ ให้สำนักงาน กศน.จังหวัด/กทม. และกศน.อำเภอ/เขต ให้การสนับสนุนและกำกับติดตาม การดำเนินงาน กศน.ตำบล อย่างใกล้ชิด
13
ร่าง มาตรฐาน กศน.ตำบล ปี 2554
สำนักงาน กศน.
14
มาตรฐาน กศน.ตำบล ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่
มาตรฐาน กศน.ตำบล ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านการนิเทศติดตามและ รายงานผล
15
ด้านการบริหารจัดการ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่
ด้านการบริหารจัดการ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ อาคาร สภาพเหมาะสม มั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย และมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ สื่อ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ การบริหารงบประมาณ บุคลากร ปฏิบัติงาน ครอบคลุมตามภารกิจ ที่กำหนด
16
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ เป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสารของชุมชน(Information Center) เป็นศูนย์สร้างโอกาสการเรียนรู้(Opportunity Center) เป็นศูนย์การเรียนชุมชน(Learning Center) เป็นศูนย์ชุมชน(Community Center)
17
ด้านการมีส่วนร่วม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่
ด้านการมีส่วนร่วม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม กศน. ตำบล มีการเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้ในตำบล และต่างตำบล ชุมชนมีส่วนร่วมใน การส่งเสริมการดำเนินงาน กศน.ตำบล
18
ด้านการนิเทศติดตามและรายงานผล มี 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่
ด้านการนิเทศติดตามและรายงานผล มี 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ การนิเทศติดตามผล การรายงานผล และการสรุปผล
19
เกณฑ์การพิจารณาและเกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์การพิจารณาและเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ในแต่ละด้านจะมีเกณฑ์การพิจารณา ตามลักษณะของกิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินจะมี 5 ระดับ ได้แก่ 1 ต้องปรับปรุง 2 ควรปรับปรุง 3 พอใช้ 4 ดี 5 ดีมาก
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.