งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
การดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Management Quality Award : PMQA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

2 ความเชื่อมโยงของระบบจัดการกับเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) คำรับรองการปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล Capacity Building การบริหารความเสี่ยง พัฒนาองค์กร การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) Individual Scorecard คุณภาพ 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การวิเคราะห์(Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management e-government MIS 4-Apr-17

3 IT7 ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้และนำแผนไปปฏิบัติ
แผนการจัดการความรู้ หมายถึง แผนที่สนับสนุน การดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วน ราชการ ประกอบด้วย กิจกรรมการจัดการความรู้ ต่างๆ เช่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดองค์ ความรู้ให้เป็นระบบและเข้าถึงง่าย การยกย่อง ชมเชยและให้รางวัล เป็นต้น 4-Apr-17

4 กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)
เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) ความรู้อยู่ที่ใครอยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) จะแบ่งประเภทหัวข้ออย่างไร 3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร 4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 5.การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์การ หรือไม่ ทำให้องค์การดีขึ้นหรือไม่ 7.การเรียนรู้ (Learning) 4-Apr-17

5 กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process)
6. การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) 5. การวัดผล (Measurements) 4. การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) 3. กระบวนการ และเครื่องมือ (Process & Tools) 1. การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) 2. การสื่อสาร (Communication) Robert Osterhoff 4-Apr-17

6 การบูรณาการกระบวนการจัดการความรู้ (KMP) และ กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง (CMP)
4-Apr-17

7 ▪ รายงานผลการดำเนินงานตามแผน โดยดำเนิน กิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมและสามารถดำเนินการที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ (ค่าน้ำหนัก 0.6) 1.1 มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ 0.025 1.2 มีรายการองค์ความรู้ที่มาจากการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรภายใน / ภายนอกองค์กร 1.3 มีรายการองค์ความรู้ เพื่อสนับสนุน/สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์ ครบ ทุกประเด็นยุทธศาสตร์

8 ▪ รายงานผลการดำเนินงานตามแผน โดยดำเนิน กิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมและสามารถดำเนินการที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ (ค่าน้ำหนัก 0.4) 1.1 สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จ ครบถ้วน ทุกกิจกรรมที่กำหนดในแผน KM ครบทั้ง 3 แผน 0.2 1.2 ทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีผลการดำเนินการครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ครบทั้ง 3 แผน 0.1 2.1 มีรายงานผลการติดตามความก้าวหน้าทุกครั้งตามที่ระบุในกรอบระยะเวลาการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้และต้องไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี โดยมีช่วงห่างของระยะเวลาในการติดตามแต่ละครั้งที่เหมาะสม

9 ▪ รายงานผลการดำเนินงานตามแผน โดยดำเนิน กิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมและสามารถดำเนินการที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ (ค่าน้ำหนัก 0.4) 2.1 มีการจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ 0.03 2.2 เลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย 3 องค์ความรู้จาก ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน พร้อมระบุเหตุผลหรือความเหมาะสมในการเลือกองค์ความรู้ 0.09 2.3 กำหนดเกณฑ์การวัดผลสำเร็จโดยเลือกตัวชี้วัด (KPI) ตามคำรับรองฯ หรือตัวชี้วัด (KPI) อื่นๆ ที่สามารถสะท้อนผลลัพธ์ของแผนการจัดการความรู้ 0.12

10 ▪ รายงานผลการดำเนินงานตามแผน โดยดำเนิน กิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมและสามารถดำเนินการที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ (ค่าน้ำหนัก 0.4) 2.4.1 มีการจัดทำ แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan ) โดยมีรายละเอียดกิจกรรมการจัดการความรู้ต่าง ๆ ตามขั้นตอนการจัดการความรู้ครอบคลุมทั้ง 7 ขั้นตอน ในทั้ง แผน 0.12 2.4.2 มีกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง ครบทั้ง 6 องค์ประกอบมาบูรณาการร่วมกัน (พิจารณาจากตาราง Matrix ตามแนวทางการจัดการความรู้ปี 50) 0.05 2.4.3 มีกิจกรรมยกย่องชมเชย ( CMP องค์ประกอบที่6 ) แสดงให้เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม (เพิ่มเป็นกิจกรรมที่ 8 ในแบบฟอร์ม 2) 0.01

11 ▪ รายงานผลการดำเนินงานตามแผน โดยดำเนิน กิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมและสามารถดำเนินการที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ (ค่าน้ำหนัก 0.4) 2.5.1 มีการลงนามเห็นชอบ การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์จากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ 0.04 2.5.2 มีการลงนามเห็นชอบ แผนการจัดการความรู้ จากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม

12 เกณฑ์การให้คะแนน(ร้อยละ)
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน(ร้อยละ) แนวทางการประเมิน 1 2 3 4 5 RM 4.3 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ 80 85 90 95 100 • เป็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ ซึ่งเป็นผลจากการดำเนินการตาม IT 7 ▪ ผลสัมฤทธิ์ หมายถึง งานบริการหรือกิจกรรมที่เกิดจากการทำงานได้ผลผลิต (outputs) ตามเป้าหมาย และเกิดผลลัพธ์ (outcome) ตรงตามวัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ ทำให้องค์ความรู้ที่กำหนดสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริงหรือเป็นที่พึงพอใจ

13 URL ของเว็บไซต์ http://......................................................
การสร้าง database ของเว็บไซต์ในหน้าจัดการระบบ URL : Username: Password: การนำไฟล์ขึ้นไปเก็บบนฐานข้อมูลของเว็บไซต์ (FTP) URL : Username: Password:

14 ความสำเร็จของการประชุมครั้งนี้
เพิ่มโมดูลในเว็บ KM ติดตั้งเว็บ KM ใช้งานทุกโมดูลในเว็บได้ รอบรู้เรื่องหลักสูตร รู้จัก / ใช้ Freeware เพื่อพัฒนา การจัดการเรียนการสอน

15 ทีมงาน ทวีรัตน์ เทพนะ taweerath2008@hotmail.com
ศศวรรธน์ ขรรค์ทัพไทย จำรัส สอนกล้า ศน. สพท.สุรินทร์ เขต 1 รัชนี พรมพุฒ ศน. สพท.พิจิตร เขต 1 บัญญัติ พุ่มพวง ศน. สพท.ชลบุรี เขต 2 สินชัย โรจนไพฑูรย์ ศน. สพท.ชลบุรี เขต 2 ทรงเดช ขุนแท้ ศน. สพท.ปทุมธานี เขต 1 ธนกฤต เดชนาเกร็ด ศน. สพท.ศรีสะเกษ เขต 3 นางนรากร ศรีวาปี ศน. สพท.มหาสารคาม เขต 1 อานนท์ วงศ์วิศิษฏ์รังสี        ศน. สพท.อุบลราชธานี เขต 1 ดุจดาว ทิพย์มาตย์ นักวิชาการศึกษา สนก. จันทิรา ทวีผลายนต์ นักจัดการงานทั่วไป สนก. นางเนตรทราย แสงธูป พนักงานพิมพ์ดีด


ดาวน์โหลด ppt หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google