ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
งานที่เกี่ยวข้องกับระบบ GFMIS
เช็ครายงานการจ่ายตรง จาก Terminal การนำเงินส่งคลังตามระบบ GFMIS
2
เช็ครายงานการจ่ายตรง จาก web report
การจ่ายตรง คือ การที่กรมบัญชีกลางแจ้งธนาคารให้โอนเงินเพื่อชำระค่าสินค้าหรือบริการเข้าบัญชีธนาคารของเจ้าหนี้โดยตรง ซึ่งจะใช้วิธีการตรวจเช็ครายงานดังกล่าวจากเครื่อง Terminal ทางระบบอินเตอร์เน็ท เพื่อตรวจสอบว่าได้มีการโอนเงินจริง และพิมพ์รายงานเพื่อใช้เป็นหลักฐานการโอนเงิน
3
ขั้นตอน 1. ลงทะเบียนรับใบสำคัญจากงานเบิกเงิน 1 และงานเบิกเงิน 2 ที่ได้ตั้ง ขบ. แล้วตามระบบ 2. นำใบสำคัญมาเช็ครายงานการจ่ายชำระเงินจากกรมบัญชีกลาง โดยผ่านทางเครื่อง Terminal - ใส่ User name และ Password - เข้า ZAP_RPT503 รายการขอเบิกเงินตามวันที่สั่งโอนเงิน ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ :-
6
ตกลง
7
ชุดที่ 2 เก็บเป็นสำเนาที่งานรับจ่ายเงิน
รายงานการจ่ายชำระเงินจะสั่งพิมพ์ 2 ชุด ชุดที่ 1 แนบใบสำคัญ เพื่อเป็นหลักฐานการจ่าย และดูวันที่การโอนเงินเข้าบัญชีเจ้าหนี้ในรายงาน เพื่อใช้ลงวันที่การหักภาษี ณ ที่จ่าย ชุดที่ 2 เก็บเป็นสำเนาที่งานรับจ่ายเงิน
8
ใบสำคัญที่แนบรายงานการจ่ายชำระเงินแล้ว
หน่วยจ่ายจะแจ้งเจ้าหนี้ให้ทราบถึงการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร ซึ่งวิธีการดำเนินการจะแบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1.ส่งใบรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายให้กับเจ้าหนี้ทางไปรษณีย์ และเจ้าหนี้จะส่งใบเสร็จรับเงินกลับมาให้ 2.เจ้าหนี้มารับใบรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายเอง พร้อมทั้งออกใบเสร็จรับเงินให้ เมื่อดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้วหน่วยจ่ายจะตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วน และส่งใบสำคัญต่อให้กับงานบัญชีเงินงบประมาณ เพื่อดำเนินการต่อไป
9
การนำเงินส่งคลังตามระบบ GFMIS
ขั้นตอน เมื่อได้รับแจ้งจากหน่วยรับ ณ สิ้นวันทำการว่ามีเงินประเภทใดที่จะต้องนำส่งเข้าคลังในวันรุ่งขึ้น จะทำการเขียน Pay in slip ซึ่งเป็นรูปแบบเฉพาะที่กรมบัญชีกลางกำหนดให้ใช้กับระบบ GFMIS ซึ่งสามารถดาว์นโหลดแบบฟอร์มได้ใน web report จะมี 2 ส่วน - ส่วนที่ 1 สำหรับธนาคาร - ส่วนที่ 2 สำหรับหน่วยราชการ
10
ประเภทของเงินที่ได้รับแจ้งจากหน่วยรับ
บัญชีเงินงบประมาณ (486) แยกเป็น 2 ประเภท คือ พักไว้ในบัญชี 486 เช่น เงินเดือน ค่าจ้างประจำ เงินตอบแทนพิเศษ บำนาญ ฯลฯ (ที่เป็นเช็ค) เข้าบัญชี 288 (ฝากคลัง) เช่น เงินเดือน ค่าจ้างประจำ เงินตอบแทนพิเศษ ที่รับเป็นเงินสดของปีปัจจุบัน โดยฝากเข้าศูนย์ต้นทุน บำนาญ ใช้ศูนย์ต้นทุน เงินยืมฯ ปีปัจจุบันฝากตามศูนย์ต้นทุนกองนั้น (เบิกเกินส่งคืน) ถ้าเป็นปีงบประมาณเก่า เข้าศูนย์ต้นทุน (รายได้แผ่นดิน)
11
บัญชีเงินนอกงบประมาณ (494)
แยกเป็น 2 ประเภท คือ พักไว้ในบัญชี 494 เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพท์ เงินมัดจำซอง ค่าสมัครสอบ เข้าบัญชี 288 (ฝากคลัง)โดยใช้ศูนย์ต้นทุน เช่น ค่าแบบ ขายซาก 100% ฝากเป็นรายได้แผ่นดิน วางหลักประกันสัญญา ขายซาก 50% แรก ฝากเข้าเงินฝากคลัง
12
บัญชีเงินทุนหมุนเวียน (699)
เช่นรับค่าน้ำดิบ จะฝากเข้าบัญชี (040) ซึ่งเป็นบัญชีเงินทุนหมุนเวียน ประเภทออมทรัพย์ เงินยืมรับเป็นเงินสดเข้าบัญชี 288 โดยใช้ศูนย์ต้นทุน (เงินฝากคลัง) บัญชีกองทุนจัดรูปที่ดิน (045) เช่นเงินรายได้จากการจัดรูปที่ดิน (เช็ค) ให้ฝากเข้าบัญชีกองทุนจัดรูปที่ดิน และเมื่อเงินเข้าบัญชีแล้วจึงจะเขียนเช็คฝากเข้าคลัง(288) โดยใช้ศูนย์ต้นทุน (เงินฝากคลัง) บัญชีมูลนิธิชัยพัฒนา เช่นรับเช็ครายได้ปรับปรุงคุณภาพน้ำ รับเช็คค่าจ้างชั่วคราว ฯลฯ ฝากเข้าบัญชีออมทรัพย์ของมูลนิธิชัยพัฒนา
13
ขั้นตอนการดาว์นโหลดแบบฟอร์ม Pay in slip
เข้าระบบอินเตอร์เน็ท และเข้า website เลื่อน scroll bar มาล่างสุดของหน้า เลือกคลิกที่หัวข้อ แบบฟอร์มและตัวอย่าง
18
21 ศูนย์ต้นทุน
19
รหัสสาขาธนาคารของบัญชีเงินฝากผู้รับเงิน 5 หลัก
สิ่งที่สำคัญ บาร์โค้ด รหัสสาขาธนาคารของบัญชีเงินฝากผู้รับเงิน 5 หลัก รหัสศูนย์ต้นทุนหน่วยงานที่นำฝาก หลัก สำหรับเจ้าหน้าที่ธนาคาร สำหรับส่วนราชการ
20
เมื่อนำเงิน/เช็คแนบ Pay in Slip ส่งธนาคารกรุงไทยฯแล้ว
ธนาคารจะออกใบรับเงิน (Deposit Receipt) และสำเนา Pay in Slip ให้ส่วนราชการเพื่อใช้เป็นหลักฐานอ้างอิง
22
เมื่อได้รับใบรับเงินแนบกับใบนำฝากส่วนของส่วนราชการกลับมาจะนำไปลงคุมยอดเงินที่ได้นำฝากแล้วโดยอ้างอิง No.ใบนำฝาก 16 หลัก จากนั้น...เอกสารจะนำมาลงเล่มหลักฐานและส่งต่อไปยังงานที่เกี่ยวข้อง(บัญชีเงินงบประมาณ,เงินนอกงบประมาณ) เพื่อดำเนินการ โดยจะนำเลขที่อ้างอิง 16 หลัก ไปใช้เป็นข้อมูลในการทำใบนำส่ง (นส. 02 ต่อไป)
23
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.