ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กลุ่ม 2 กำหนดมาตรฐานยา รพ.ทบ.
2
ปัจจุบันรพ.ท่านได้ให้ผู้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับการใช้ยาและเวชภัณฑ์ มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการด้านยาอย่างไร มีการจัดตั้งคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดซึ่งประกอบด้วยทีมสหสาขาวิชาชีพในการดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านยา
3
ร.พ.ของท่านมีคณะกรรมการรับผิดชอบหรือไม่ ถ้ามี มีภารกิจอะไรบ้าง
ร.พ.ของท่านมีคณะกรรมการรับผิดชอบหรือไม่ ถ้ามี มีภารกิจอะไรบ้าง มี และมีการประชุมคร่อมสายงานกับทีมต่างๆในโรงพยาบาล ภารกิจ คือ พิจารณาและคัดเลือกรายการยาในบัญชียาโรงพยาบาล กำหนดและวางแผนงบประมาณในการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์อย่างคร่าวๆ (ยังไม่ระบุรายการ item ) กำหนดนโยบายการใช้ยาของโรงพยาบาล
4
เพื่อให้มีแผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ของหน่วยที่ชัดเจนท่านคิดว่าควรให้มีการดำเนินการอย่างไร
มีการวางแผนการจัดซื้อยาเป็นรายการยาโดยอ้างอิงจากยอดการใช้จริงและจำนวนยาคงคลัง โดยแผนการจัดซื้อดังกล่าวจัดทำและตัดสินใจร่วมกันโดยทีม PTC
5
เพื่อให้การขออนุมัติซื้อมีข้อมูลประกอบการพิจารณาครบ ควรเสนอข้อมูลอะไรบ้าง
อัตราการใช้ยา อ้างอิงราคากลาง
6
บัญชีรายการของรพ.มีจำนวนเท่าใด เหมาะสม? ควรมีเท่าไร
บัญชีรายการของรพ.มีจำนวนเท่าใด เหมาะสม? ควรมีเท่าไร รพ. 30 เตียง มี 200 รายการ รพ. 60 เตียง มี 400 รายการ ความเหมาะสม ควรพิจารณาจากบริบทของรพ. เช่น จำนวนคนไข้ จำนวนแพทย์เฉพาะทาง มากกว่าที่จะพิจารณาจากจำนวนเตียง
7
สัดส่วนรายการยา ED-NED / ความเหมาะสม
8
เพื่อควบคุมอัตราการเพิ่มของรายการยา ควรมีมาตรการใด
ทีม PTC มีความเป็นเอกภาพ มีความสามารถในการสั่งการ ควบคุมให้เป็นไปตาม อจย. มีการกำหนดช่วงเวลาพิจารณายาเข้าที่ชัดเจน จำนวนยาเข้า = จำนวนยาออก กรมแพทย์ และ area command มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย และแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน
9
การกำจัดจำนวนรายการยาที่มีชื่อสามัญเดียวกัน ฤทธิ์ใกล้เคียงกัน ควรมีวิธีการใด
ยาที่มีกลไกการออกฤทธิ์ใกล้เคียงกัน มีได้ไม่เกิน 2 รายการ
10
เพื่อให้มีการจัดหาเวชภัณฑ์ร่วมกัน หรือต่อรองราคาร่วมกันของรพ
เพื่อให้มีการจัดหาเวชภัณฑ์ร่วมกัน หรือต่อรองราคาร่วมกันของรพ.ในกองทัพบกทุกระดับ ควรมีวิธีจัดการอย่างไร จัดทำบัญชียาของโรงพยาบาลร่วมกันในโรงพยาบาลแต่ละระดับ ยาในบัญชียาหลักที่เป็นยาพื้นฐาน สามารถซื้อร่วมกันได้
11
การประกันคุณภาพยาที่จัดซื้อจัดหา ควรทำอย่างไร
พิจารณายาที่มี aprove indication เท่านั้น และควรมีการใช้ในโรงเรียนแพทย์มาก่อน มีเอกสารประกันคุณภาพยาที่เป็น evidence-base เช่น ใบรับรองจากกรมวิทย์ มีการสุ่มตรวจคุณภาพยา
12
เพื่อลดการสำรองและการกระจายยา มีข้อเสนอแนะอย่างไร
ลดการสำรองยาในคลังเวชภัณฑ์ไม่เกิน 3 เดือน
13
เพื่อลดการสำรองยาและยาค้างในหอผู้ป่วย ควรทำอย่างไร
จัดทำ one day dose ไม่ stock ยา ยกเว้นรายการยาฉุกเฉิน หอผู้ป่วยคืนยาวันต่อวัน
14
เพื่อให้มีการสั่งใช้ยาที่สมเหตุสมผล และลดการใช้ยาราคาแพง เกินความจำเป็น ควรมีมาตรการอย่างไร
จัดทำ DUE ใช้ยาตาม Clinical practice guildline กำหนดวงเงินใบสั่งยาตามกลุ่มโรค Audit เวชระเบียนโดยทีม PTC
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.