งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Open Standard Framework and Policy

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Open Standard Framework and Policy"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Open Standard Framework and Policy
โดย ดร.พันธ์ศักดิ์ ศิริรัชตพงษ์ National Electronics and Computer Technology Center (NECTEC) National Science and Technology Development Agency (NSTDA)

2

3 มาตรฐาน คืออะไร มาตรฐาน คือ ตัวอย่างของวัตถุซึ่งสามารถนำสิ่งอื่นมาวัดเทียบได้ มาตรฐาน ทำให้เกิดความแน่นอน ทำให้สิ่งของทำงานร่วมกันได้ ทำให้วัตถุต่างๆมีคุณสมบัติที่แน่นอน ทั้งนี้ ต้องเกิดจากการสร้างข้อกำหนด (specifications) ที่สามารถนำมาสอบเทียบได้ ลักษณะการสร้างมาตรฐาน มาตรฐานโดยปริยาย (Defacto standard) มาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป มาตรฐานที่บังคับ โดยกฎระเบียบ (Dejury standards) มาตรฐานที่มีการประกาศใช้บังคับ (หรือใช้อ้างอิง) โดยหน่วยงานกำกับดูแลมาตรฐาน

4 Open Standards Checklist
การสร้างและจัดการ ต้องไม่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือผูกขาดโดยผู้หนึ่งผู้ใด มีกระบวนการสร้างมาตรฐานที่เปิดเผย โปร่งใส เป็นมาตรฐานที่ผู้มีส่วนร่วมส่วนใหญ่ให้การรับรอง ทั้งนี้ ไม่จำเป็นใดๆที่จะต้องเป็นมาตรฐานที่รัฐบาลรับรอง การใช้งานและสิทธิ์การใช้ ทำงานได้อิสระบนระบบปฏิบัติการหลายระบบได้ เป็นมาตรฐานที่เปิดเผย และหานำมาอ่านได้ทั่วไป นำมาพัฒนาใช้งานโดยไม่ต้องเสียค่าใบอนุญาต หรือมีค่าใช้จ่ายน้อยมาก

5 3 Difference Aspects TCP/IP, HTTP, SSL, SMTP, MIME,
W3C, IMAP, LDAP, XML, Unicode, SQL, UDDI, SOAP,ISO 3166, IEEE802.1X ODF, JPEG, MPEG Open Standard: เป็นมาตรฐานที่กำหนดขึ้น โดยเน้นที่กระบวนการกำหนด Specification ที่เปิดเผยทั้งกระบวนการสร้าง และตัวข้อกำหนดที่สร้าง Open Source: เป็น SW ที่เปิดเผย source code ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็น Open Standard แต่ Open Source เป็นกลไกสำคัญที่จะผลักดันให้เกิดการใช้งานมาตรฐานเปิด Open Format: เป็นรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลที่เปิดเผย สามารถนำไปใช้งานต่อได้โดยไม่จำกัดสิทธิ ซึ่งถือว่าเป็น Subset ของ Open Standard OSS OpenXML

6 หลักการในการสร้าง Framework
ประกอบด้วย มีความเป็นกลางในการกำหนดนโยบายทั้งด้าน technology, platform และ business model โดยปกติการพัฒนาเทคโนโยลีต่างๆ บนพื้นฐานของมาตรฐานเปิด มักจะเป็นการพัฒนาต่อยอด หรือการเชื่อมต่อชิ้นส่วนผลงานเข้าด้วยกัน ซึ่งแต่ละส่วนที่ได้พัฒนามาก่อนหน้า ประชาสัมพันธ์/เปิดเผย เพื่อให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญากับเจ้าของผลงาน การกำหนดนโยบายหรือกรอบการทำงานจะต้องผลักดันภาคอุตสาหกรรม(ทั้ง HW และ SW) ให้เข้ามามีบทบาท ทำให้เกิดการแข่งขัน และพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ตามแนวทางมาตรฐานเปิดที่กำหนดไว้

7 Open Standards Roadmap
Development Policies Based Procurement Interoperability Framework Interoperability Framework: คือโครงสร้างที่กำหนดให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด ทราบว่าจะสามารถเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารกันได้อย่างไร เปรียบเสมือนถนนที่สร้างไว้ให้สามารถเดินทางไปตามจุดต่างๆ ได้อย่างไร Open Standard Development: คือการกำหนดคุณสมบัติของสิ่งต่างๆ ให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ ทั้งนี้เราจะสองทั้ง HW และ SW เปรียบเสมือนยานพาหนะที่จะผลิตขึ้นมาให้สามารถวิ่งได้บนถนนให้ไปถึงจุดหมายต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม Open Standards Based Procurement: เป็นส่วนที่ผลักดันให้เกิด Open Standard อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น ซึ่งหากภาครัฐสร้างมาตรฐานเปิด แล้วในไปกำหนดเป็นคุณสมบัติของสิ่งที่จะจัดซื้อจัดจ้าง จะทำให้ภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง พัฒนาผลิตผลต่างๆ ไปในแนวทางที่เป็นมาตรฐานเปิดมากขึ้น สามารถใช้งานร่วมกันได้ Open Standards Policy: เป็นส่วนที่ควบคุมให้มีทั้ง 3 ส่วนที่กล่าวมาแล้วเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากเป็นส่วนที่ช่วยให้ผู้ปฏิบัติทุกระดับมีแนวทางการทำงานที่ชัดเจน และวางแผนการทำงานในอนาคตได้ และนำไปสู่ระบบนิเวศทาง ICT แบบเปิดในที่สุด ซึ่งถ้าให้เปรียบเทีบยให้เป็นเรื่องเดียวกัน ก็จะเปรียบเสมือนการวางผังเมือง เพื่อให้การสร้างถนนเป็นระบบระเบียบมากขึ้น

8 การพัฒนา ICT ด้วยมาตรฐานเปิด
มาตรฐานเปิด คือแหล่งเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีที่สำคัญ การคิด และต่อเติมให้เกิด นวัตกรรม (innovation) การพัฒนาโดยการต่อยอด ก่อให้เกิด การร่วมแรงร่วมใจ (collaboration) การทำงานเป็นทีมหรือหลายทีม ตามมาตรฐานเดียวกัน ทำให้เกิด Interoperability โครงการ Open Source ช่วยให้มีการพัฒนาที่เร็วขึ้น

9

10 Thank you for your attention.
NECTEC is the founder of ThaiSarn, Software Park, Internet Thailand, SchoolNet, ThaiCERT, PTEC, TMEC, HAII and GITS

11 ข้อมูลเพิ่มเติม

12 ตัวอย่างมาตรฐานโดยปริยาย (Defacto standard)
ในวงการ ICT ปัจจุบัน ได้แก่ Windows, PDF, MS-Office, GSM, GIF ฯลฯ บางครั้ง เป็นไปตามผลิตภัณฑ์หนึ่งใดที่เด่น หรือวิธีการบริการใด ที่เป็นที่นิยมใช้เหมือนๆกันอย่างแพร่หลาย เช่น จะซื้อผงซักฟอก พูดว่า ซื้อแฟ้บ ซื้อ Microsoft Windows ได้แถม Internet Explorerer และ Media Player จะสอนให้ใช้ Word Processor พูดว่าสอน Word®TM คนไทยกว่า 70% ใช้ google ค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต เมื่อนำเสนอด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ พูดกันว่า ฉันจะใช้ PowerPoint แฟ้มข้อมูลประเภท .DOC .PPT .XLS เป็นแฟ้มข้อมูลที่รู้จักกันทั่วไป

13 ตัวอย่างมาตรฐานที่บังคับโดยกฎระเบียบ (Dejury standards)
ส่วนใหญ่ ทำขึ้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้าในประเทศไทย ต้องใช้งานได้กับไฟที่มีแรงดัน 220V AC 50 Hz การเดินสายไฟฟ้าในอาคารที่ประเทศอังกฤษ บังคับให้มีการเดินสายดินเป็นสายที่สามสำหรับเต้าเสียบไฟทุกเต้า คอมพิวเตอร์ที่ราชการไทยจัดซื้อ ต้องทำงานกับรหัสอักขระไทย ตามมาตรฐาน มอก และมีแป้นพิมพ์ภาษาไทย ตรงตามมาตรฐาน มอก

14 การจัดตัวอักษรบนแป้น ตาม มอก.820-2531

15 ตัวอย่างหน่วยงานมาตรฐานสากล
ระดับนานาชาติ ระดับภูมิภาค ISO - International Organization for Standardization จัดได้ว่าเป็นหน่วยงานกลางที่มีความสำคัญที่สุดในการจัดทำมาตรฐานนานาชาติ สำหรับประเทศต่างๆ ใช้ร่วมกัน OASIS - Organization for the Advancement of Structured Information Standards ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐาน โดยเน้นมาตรฐานเกี่ยวกับ e-Business ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นมาตรฐานของ XML และ Web Services CCITT - The International Telegraph and Telephone Consultative Committee กำหนดมาตรฐานเฉพาะด้านโทรคมนาคม เพราะเป็นองค์กรภายใต้ ITU (International Telecommunications Union) ของสหประชาชาติ ECMA - European Computer Manufacturers Association ทำหน้าที่พัฒนามาตรฐานเฉพาะด้าน ได้แก่ Information Communication Technology (ICT) และ Consumer Electronics (CE) องค์กรระดับชาติ สมอ. - สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของไทย ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานของประเทศ และเป็นสมาชิกของ ISO เพื่อทำหน้าที่รับรองมาตรฐานสากลของ ISO ความร่วมมือภาคเอกชน OSF - Open Software Foundation มีผู้ประกอบการต่างๆ หลายสิบแห่งเป็นสมาชิก รวมทั้งยักษ์ใหญ่ IBM ,HP และ Digital กลุ่ม OSF มีอิทธิพลสำคัญต่อการกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์แบบ'ระบบเปิด หน่วยงานหลายชาติ IEEE - Institute of Electrical and Electronic Engineers ทำหน้าที่พัฒนามาตรฐานเฉพาะด้านโดยเน้นเรื่องtelecommunications, information technology และ power generation

16 กระบวนการทั่วไปในการจัดทำมาตรฐาน
Standard Specification Development Adopting Generate Compromise Merge Split Block Sabotage Switch Quit Adopt Switch Reject Wait Competing Specification Source: Interorganisational Standard, Physica-Verlag, A Springer Company

17 ตัวอย่างมาตรฐานเปิดที่เราใช้อยู่
JPEG file format HTML (W3C) TCP/IP (Internet) JAVA Unicode, ISO10646 Posix มอก. 620, มอก.820 MPEG, MP3, MP4 Joint Photographic Expert Group CERN  WWW Consortium (W3C) Internet Engineering Taskforce (IETF) เริ่มที่ Sun Microsystems  เวทีสาธารณะ ISO สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม Motion Picture Expert Group หมายเหตุ PDF GIF DOC PPT XLS ยังถือกันว่าไม่เป็นมาตรฐานเปิด (PDF เป็นที่ยอมรับในวงกว้างเพราะแจกโปรแกรมฟรี)

18 Open Source ทำให้เกิดการใช้ Open Standards ในวงกว้าง
Source: RoadMap For Open ICT Ecosystems Berkman Center for Internet and Society, Harvard Law School

19 Distinguishing Open Standards from Open Source
Open source software should be clearly distinguished from open standards. Open standards can be implemented by both proprietary and open source software. Availability of source code does not make an open standard. The marketplace provides the best evidence of the successful adoption of a standard. Source: Technology Standards & Interoperability – Why We Should Care About Them Business Software Alliance, February 2006

20 Open vs Proprietary Standards
Open Standards ODF, Free and Open Source Software TCP/IP, HTTP, SSL, SMTP, MIME, W3C, IMAP, LDAP, XML, Unicode, SQL, UDDI, SOAP, JPEG, MPEG, ISO 3166, IEEE802.1X Open XML Java, PDF Commercial Software ZIP, GIF .DOC, .PPT Proprietary Standards

21 ระบบนิเวศทาง ICT (ICT Ecosystem)
ในระบบนิเวศ มีทั้งของดีและของไม่ดี มีทั้งถนนเปิด และบ้านที่ปิดมิดชิด ระบบนิเวศที่ดี คือทุกคนอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ไม่มีผู้ใดปล่อยมลภาวะออกมาให้ผู้อื่นเดือดร้อน หรือเกิดโรคระบาด

22 มาตรฐานเปิดนำไปสู่ ICT Ecosystem
ต้องทำงานร่วมกันได้ (Interoperable) คิดจากผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง (User-Centric) สร้างความร่วมมือ (Collaborative) ยั่งยืน (Sustainable) ปรับดัวได้ (Flexible) Interoperable allowing, through open standards, the exchange, reuse, interchangeability and interpretation of data across diverse architectures. User-Centric prioritizing services full ling user requirements over perceived hardware or software constraints. Collaborative permitting governments, industry, and other stakeholders to create, grow and reform communities of interested parties that can leverage strengths, solve common problems, innovate and build upon existing efforts. Sustainable maintaining balance and resiliency while addressing organizational, technical, financial and legal issues in a manner that allows an ecosystem to thrive and evolve. Flexible adapting seamlessly and quickly to new information, technologies, protocols and relationships while integrating them as warranted into market-making and government processes.


ดาวน์โหลด ppt Open Standard Framework and Policy

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google