งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ซอฟต์แวร์.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ซอฟต์แวร์."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ซอฟต์แวร์

2 ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง
คือจะต่างจาก ฮาร์แวร์ ตรงที่ไม่สามารถจับต้องได้ เป็น “นามธรรม” ข้อมูล คำสั่งหรือ เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ ได้ ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น

3 1. ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software)          ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows,

4 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)          ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ

5 2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น

6 2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้

7 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Adobe Photoshop, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น

8 (Peopleware) พีเพิลแวร์  คือ  ผู้ปฏิบัติงานตามกระบวนวิธีการในกิจกรรมต่างๆ  อันได้แก่  การสร้างหรือเก็บรวบรวมข้อมูล   บางกลุ่มอาจทำหน้าที่ในการพัฒนาซอฟท์แวร์ขึ้นมาใหม่ๆ  ตามความต้องการและในการประมวลผล  และอาจเปลี่ยนแปลงโปรแกรมที่มีอยู่แล้วให้สอดคล้องตามความต้องการที่เปลี่ยนแปลงในโอกาสต่างๆ

9 การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์มีหลายประเภท  ซึ่งแต่ละประเภทก็มีหน้าที่และความรับผิดชอบแตกต่างกันไปดังนี้ 1. ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User)  หมายถึงผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป   สามารถทำงานตามหน้าที่ในหน่วยงานนั้นๆ  เช่น  การพิมพ์งาน    การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์   การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์    เป็นต้น  ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ด้านเทคนิคต่างๆ   ของคอมพิวเตอร์ก็ได้

10  2. ผู้ดูแลและซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ (Supporter)  หมายถึงผู้ดูแลและคอยตรวจสอบสภาพเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้มีสภาพความพร้อมที่จะทำงานได้ตลอดเวลา   กลุ่มนี้จะเรียนรู้เทคนิคการรักษา  ดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์  ตลอดการต่อเชื่อม  ตลอดจนการใช้งานโปรแกรมต่างๆ  ค่อนข้างดี

11   3. ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์  (Programmer)  หมายถึง
ผู้เขียนโปรแกรมตามผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์เป็นผู้กำหนด   เพื่อให้ได้โปรแกรมที่ตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งานในองค์กร   กลุ่มนี้จะศึกษามาทางด้านภาษาคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ   สามารถเขียนคำสั่งคอมพิวเตอร์โดยภาษาต่างๆ ได้  และเป็นนักพัฒนาโปรแกรมให้คนอื่นเอาไปใช้งาน

12 4. ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ (System  Analysis)  
เป็นผู้ที่มีหน้าที่พิจารณาว่าองค์กรควรจะใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะใดจึงจะเหมาะสม   เกิดประโยชน์สูงสุดและได้คุณภาพดี   เป็นผู้ออกแบบโปรแกรมก่อนส่งงานไปให้โปรแกรมเมอร์ทำงานในส่วนต่อไป

13  5. ผู้บริหารระบบคอมพิวเตอร์   (System Manager)  เป็นผู้มีหน้าที่บริหารทรัพยากรทุกชนิดที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร

14 หัวข้อรายงาน วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ 6 คน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 5 คน
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ คน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ คน ความหมายของคอมพิวเตอร์ คน การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ คน ภาษาคอมพิวเตอร์ คน ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ คน คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง คน หน่วยความจำหลักและหน่วยความจำสำรอง คน ระบบปฏิบัติการ 5 คน ส่ง 17 ก.ค. 55

15


ดาวน์โหลด ppt ซอฟต์แวร์.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google