ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Introduction to C Programming
2
การทำงานของภาษาซี .C .obj .exe
จัดทำโปรแกรมต้นฉบับ(Source Program) โดยบันทึกไฟล์เป็นนามสกุล .c แปลงรหัสคำสั่งเป็นภาษาเครื่อง(Compile) ซึ่งจะได้ไฟล์นามสกุล . obj การเชื่อมโยงโปรแกรม(Link) เป็นการเชื่อมโยงโปรแกรมกับไลบรารี ซึ่งจะเป็นผลให้เกิดไฟล์ .exe Source Code Compile Link .C .obj .exe
3
กระบวนการแปลรหัสของภาษาซี
เขียนคำสั่ง Compile Link Run Test.c Test.obj Test.ilk Test.exe
4
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
5
#include<stdio.h> การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ main() ฟังก์ชันหลัก
Preprocessor Directive การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ variable declaration; การประกาศค่าตัวแปรแบบ Gobal main() ฟังก์ชันหลัก { เครื่องหมายการเริ่มต้นฟังก์ชันหลัก variable declaration; การประกาศค่าชนิดตัวแปรแบบ Local program statement; ส่วนคำสั่ง } เครื่องหมายสิ้นสุดฟังก์ชัน จบโปรแกรม #include<stdio.h> การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ main() ฟังก์ชันหลัก { เครื่องหมายการเริ่มต้นฟังก์ชันหลัก char name[15]; การประกาศค่าชนิดตัวแปร printf(“What your name”); scanf(“%s”,&name); } เครื่องหมายสิ้นสุดฟังก์ชัน ส่วนของคำสั่ง
6
ไดเร็คทีฟ #include หมายถึง การสั่งให้คอมไพเลอร์นำสิ่งที่อยู่ในไฟล์ ซึ่งกำหนดไว้มารวมเข้ากับ Source Code ในที่นี้จะเป็นการนำสิ่งที่อยู่ในไฟล์ stdio.h มารวมกับ Source Code หมายเหตุ ถ้าไดเร็คทีพ #include ไม่มี <stdio.h> โปรแกรมจะ error และ Compile ไม่ผ่าน
7
ไลบราลีฟังก์ชัน <stdio.h>
เป็นการบอกถึงฟังก์ชันมาตรฐานบน input/output ที่จะนำเข้ามารวมกัน โดยบอกไว้ที่ส่วนต้นของไฟล์โปรแกรม ไลบราลีฟังก์ชัน <conio.h> ไลบราลีฟังก์ชัน <conio.h> เป็นไฟล์ที่บอกถึงการรวมเอาฟังก์ชันเกี่ยวกับคอนโซลไว้ใช้
8
การเรียกใช้ฟังก์ชัน main()
ฟังก์ชันหลัก การเรียกใช้ฟังก์ชัน main() ถ้า main ไม่มี เครื่องหมายวงเล็บ ( ) ต่อท้าย จะไม่ถือว่าเป็นฟังก์ชัน และจะเกิดข้อผิดพลาดในขั้นตอน Link
9
C PROGRAMMING
10
เข้าสู่โปรแกรม Turbo C
ทำได้ 2 วิธี 1. My computer D: TC TC 2. Start Run พิมพ์ cmd พิมพ์ d: แล้วกด Enter แล้วพิมพ์ D:tc/Tc
11
หน้าจอประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ 4 ส่วน คือ
1 เมนเมนู (Main Menu) ได้แก่ส่วนที่อยู่บรรทัดบนสุด ซึ่งเป็นรายการคำสั่งต่าง ๆ ได้แก่ File Edit ฯลฯ เป็นต้น ส่วนของ Edit คือบริเวณที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมใหญ่ ใช้สร้างและแก้ไขโปรแกรม หรือเรียกว่า พื้นที่เขียนโปรแกรมหน้าต่างเอดิต ส่วนของ Message คือบริเวณที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมเล็ก ใช้แสดงข้อความต่าง ๆ เมื่อเกิดการผิดพลาดขึ้นในขณะที่เกิดการคอมไพล์หรือลิงก์โปรแกรม ส่วนของฟังก์ชันคีย์ คือส่วนที่อยู่ล่างสุดเป็นปุ่มที่ทำหน้าที่ต่าง ๆ ของฟังก์ชันคีย์ที่มีอยู่ใน เทอร์โบ C จากนั้นกดคีย์ใด ๆ ก็ได้จะปรากฏ ดังนี้
12
รายละเอียดของข้อความต่าง ๆ ที่ส่วนบนของหน้าต่างมีดังนี้
Line 1 แสดงบรรทัดที่เคอร์เซอร์อยู่ บรรทัดที่ 1 Col 1 แสดงคอลัมน์ที่เคอร์เซอร์อยู่ คอลัมน์ที่ 1 Insert ถ้าขึ้นข้อความนี้ (Insert) แสดงว่าอยู่ในภาวะ Insert on จะสามารถพิมพ์แทรกตัวอักษรที่ตำแหน่งเคอร์เซอร์อยู่ได้ ถ้ากดคีย์ Insert บนคีย์บอร์ดที่หน้าจอข้อความ Insert จะหายไปสภาวะนี้เป็น Insert off การพิมพ์จะเป็นการพิมพ์ทับตัวอักษร ถ้าหากต้องการให้เป็น Insert on ต้องกดคีย์ Insert ที่คีย์บอร์ดอีกครั้ง Indent ถ้าขึ้นข้อความนี้บนหน้าจอแสดงว่าหลังจากพิมพ์ข้อความเสร็จแล้วกด Enter เคอร์เซอร์จะขึ้นบรรทัดใหม่ให้ และถ้ากดคีย์ Ctrl+OI จะทำให้ข้อความ Indent หายไปเคอร์เซอร์จะอยู่ที่ คอลัมน์ที่ 1 ของบรรทัดเดิม
13
Tab ถ้าปรากฏข้อความนี้แสดงว่าถ้ากดคีย์ Tab จะทำให้เคอร์เซอร์เลื่อนไปทางขวา คอลัมน์ ถ้ายกเลิกสถานะนี้กดคีย์ Ctrl+OT ถ้ากดคีย์ Ctrl+OT อีกครั้งข้อความ Tab จะปรากฏที่หน้าจอีก Unindent ถ้าขึ้นข้อความนี้ถ้าหากเคอร์เซอร์อยู่ที่บรรทัดใหม่ ถ้ากดคีย์ Backspace บนคีย์บอร์ด เคอร์เซอร์จะเลื่อนมาทางซ้าย 1 ย่อหน้าเสมอ ถ้ากดคีย์ Ctrl+OU ข้อความ Unindent จะหายไป ในสภาวะนี้ Backspace จะเป็นการลบตัวอักษร ที่อยู่ทางซ้ายของเคอร์เซอร์ และถ้ากดคีย์ Ctrl+OU ซ้ำจะทำให้ ข้อความ Unindent ปรากฏที่หน้าจออีก D:NONAME.C เป็นชื่อไฟล์ชั่วคราวที่ Turbo C สร้างขึ้น สามารถเปลี่ยนชื่อไฟล์ได้ ถ้าบันทึกเป็นชื่อใหม่
14
ขั้นตอนการใช้งาน เมื่อเข้าสู่โหมดการทำงานของภาษาซี กด Esc เพื่อเข้าสู่โหมดการเลือกใช้คำสั่ง หรือกด F10
15
2. การสร้างไฟล์ใหม่ให้เลือกเมนู File New โดยโปรแกรม จะกำหนดชื่อเบื้องต้นเป็น Noname.c
16
3. การบันทึกให้เลือกเมนู File Save หรือกดคีย์ลัด F2 ในกรณีที่บันทึกไฟล์ครั้งแรก ไฟล์ที่บันทึกได้จะมี Format (รูปแบบ นามสกุล) เป็น .C
17
4. การเปิดไฟล์ขึ้นมาแก้ไขให้เลือกเมนู File Load หรือกดคีย์ลัด F3 แล้วเลือกไฟล์ที่ต้องการแก้ไข
18
5. การเปลี่ยนชื่อไฟล์ เลือกเมนู File Write to ในกรณีที่ต้องการบันทึกชื่อไฟล์ใหม่ หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์
19
6. การ Compile เพื่อแปล Source Code ให้เป็น Object Code (
6. การ Compile เพื่อแปล Source Code ให้เป็น Object Code (.OBJ) โดยเลือกเมนู Compile Compile หรือกดคีย์ลัด Ctrl+F9
20
7. หากเกิด error ให้กด F6 เพื่อเข้าสู่โหมดการแก้ไข
21
8. ถ้า Compile ผ่าน จะปรากฏข้อความ
ให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อทำงานต่อไป
22
9. การสร้าง .EXE เพื่อนำไปใช้งานให้เลือก Make EXE file
23
10. การรันโปรแกรม ให้เลือกเมนู Run Run หรือกดคีย์ลัด Ctrl+F9
24
11. เมื่อรันโปรแกรมเสร็จแล้วจะกลับเข้าสู่หน้าจอ Editor ซึ่งจะทำให้เราดูผลลัพธ์ไม่ทัน เลือกเมนู Run User screen
25
12. แสดงผลการ Run โปรแกรม เมื่อเลือกเมนู Run User Screen หรือกดปุ่มคีย์ลัด Alt+F5
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.