ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ลักษณะภูมิภาคของ ทวีปแอฟริกา
2
ผู้จัดทำ เด็กชายกิตติภูมิ ตุ้ยระพิงค์ เลขที่๒ ม.๒/๓
เด็กชายกิตติภูมิ ตุ้ยระพิงค์ เลขที่๒ ม.๒/๓ เด็กชายภูมิพัฒน์ ศรีสมบัติ เลขที่๑๑ ม.๒/๓ เด็กชายรัชชานนท์ ศิรสิทธิกาญจน์เลขที่๑๒ ม.๒/๓ เด็กหญิงปรมาภรณ์ ความเพียร เลขที่ ๒๓ ม.๒/๓ เด็กหญิงศุภางค์ กันธิยะ เลขที่ ๓๐ ม.๒/๓
3
แอฟริกา สวาซิแลนด์ ทวีปแอฟริกา เป็น ทวีป ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจาก ทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของ พื้นที่ และจำนวน ประชากร มีพื้นที่ 30 , 244 , 050 ตารางกิโลเมตร รวมหมู่เกาะที่อยู่ใกล้ หรือคิดเป็นพื้นที่ 20.3% ของพื้นดินบนโลก และมีประชากรรวมมากกว่า 800 ล้านคนใน 54 ประเทศ คิดเป็น 1 ใน 7 ของประชากรทั่วโลก โรมันโบราณ เรียกตอนเหนือของทวีปนี้ว่า ดินแดนแอฟริกา ( Africa terra) ปัจจุบันคือ ประเทศตูนิเซีย ซึ่งเคยเป็น มณฑลแอฟริกา ของโรมัน
5
อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ จดกับ ช่องแคบยิบรอลตาร์ และ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันออก จดกับ มหาสมุทรอินเดีย และ คลองสุเอซ ทิศใต้ จดกับ มหาสมุทรแอตแลนติก และ มหาสมุทรอินเดีย ทิศตะวันตก จดกับมหาสมุทรแอตแลนติก และ อ่าวกินี
7
ภูมิภาค ทวีปแอฟริกาประกอบด้วย ประเทศเอกราชและดินแดนต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับเอกราชหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แบ่งได้เป็น 5 ภูมิภาค คือ 1. แอฟริกาเหนือ ประกอบด้วยประเทศแอลจีเรีย อียิปต์ ลิเบีย โมร็อกโก ซูดาน ตูนิเซีย และดินแดนสะฮาราตะวันตก 2. แอฟริกาตะวันตก ประกอบด้วยประเทศเบนิน บูร์กินาฟาโซ เคปเวิร์ด โกตดิวัวร์ แกมเบีย กานา กินี กินีบิสเซา ไลบีเรีย มาลี มอริเตเนีย ไนเจอร์ ไนจีเรีย เซเนกัล เซียร์ราลีโอน และโตโก
8
3. แอฟริกาตะวันออก ประกอบด้วยประเทศบุรุนดี คอโมโรส จิบูตี เอริเทรีย เอธิโอเปีย เคนยา มาดากัสการ์ มาลาวี บอริเชียส โมซัมบิก เรอูเนียง รวันดา เซเชลส์ โซมาเลีย แทนซาเนีย ยูกันดา แซมเบีย ซิมบับเว 4. แอฟริกากลาง ประกอบด้วยประเทศแองโกลา แคเมอรูน สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ชาด คองโก อิเควทอเรียลกินี กาบอง เซาโตเมและปริสซิเป และซาอีร์ 5. แอฟริกาใต้ ประกอบด้วยประเทศบอตสวานา เลโซโท นามิเบีย สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ และสวาซิแลนด์
9
แอฟริกาเหนือ ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่ ชาด เอ็นจาเมนา 1,284,000
ซูดาน คาร์ทูม 2,505,813 ตูนีเซีย ตูนีส 163,610 ไนเจอร์ นีอาเม 1,267,000 บูร์กินาฟาโซ อูอากาดูกู 274,200 มาลี บามาโก 1,240,000 มอริเตเนีย นูแอกชอต 1,030,700 โมร็อกโค ราบาต 446,550 ลิเบีย ตริโปลี 1,759,540 แอลจีเรีย แอลเจียร์ 2,381,741 แอฟริกาเหนือ
10
แอฟริกาตะวันตก ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่ กานา อักกรา 238,537 กินี
โคนากรี 245,857 กินีบิสเซา บิสเซา 36,125 แกมเบีย บันจูล 11,295 เคปเวอร์ด ไปรอา 4,031 ซาฮารตะวันตก เอลอาอิอุน 266,000 เซเนกัล ดาการ์ 196,192 เซียราเลโอน ฟรีเทาน์ 71,740 โตโก โลเม 56,000 ไนจีเรีย ลากอส 923,768 เบนิน ปอร์ตโตโนโว 112,622 ไลบีเรีย มันโรเวีย 111,369 แอฟริกาตะวันตก
11
แอฟริกากลาง ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่ กาบอง ลิเบรอะวิล 267,667
คองโก บราซซาวิล 342,000 แคเมอรูน ยาอุนเด 475,442 ซาอีร์ กินชาชา 2345,409 เซาโตเมและปรินซิเป เซาโตเม 964 แซมเบีย ลูซากา 752,614 อังโกลา ลูอันดา 1,246,700 อิเควตอเรียล มาลาโบ 28,051 แอฟริกากลาง บังกี 622,984 แอฟริกากลาง
12
แอฟริกาตะวันออก ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่ เคนยา ไนโรบี 582,646
คอโมโรส โมโรนี 2,000 จีบูตี 22,000 เซเชลล์ วิกตอเรีย 280 โซมาเลีย โมกาดิสชู 637,657 แทนซาเนีย ดาร์เอสซาลาม 945,087 มอริสเชียส ปอร์ตหลุยส์ มาลากาซี ทานานารีฟ 587,041 มาลาวี ลิลองเว 118,484 โมซัมบิก มาปูโต 783,000 ยูกันดา คัมปาลา 236,036 รวันดา คิกาลี 26,338 แอฟริกาตะวันออก
13
แอฟริกาใต้ ประเทศ เมืองหลวง ขนาดพื้นที่ ซิมบับเว ซอลสเบอรี 390,580
นามิเบีย วินด์ฮุด 824,292 บอตสวานา กาโบโรน 600,372 เลโซโธ มาเซรู 30,355 สวาซิแลนด์ อึมบาบาน 17,363 แอฟริกาใต้ ปริตอเรีย 1,221,037 แอฟริกาใต้
14
ภาคผนวก
15
บรรณานุกรม [ออนไลน์.เข้าถึงได้จาก]
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.