ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แนวโน้มผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ปี 2548-2549
แนวโน้มผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ปี
2
คำนำ วัตถุประสงค์ : เพื่อติดตามภาพรวมอุบัติการณ์ของอุบัติเหตุจากโรงพยาบาลสงขลา-นครินทร์ และโรงพยาบาลสงขลา แหล่งข้อมูล : ได้รับข้อมูลจาก 2 แหล่งคือ งานเวชระเบียนโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลสงขลา รายละเอียดข้อมูลที่นำเสนอ - โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : ผู้ป่วยรักษาแล้วกลับบ้าน : จำแนกเพศ และกลุ่มรถจักรยานยนต์ ผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาล : จำแนกเพศ และกลุ่มรถจักรยานยนต์ ผู้ป่วยเสียชีวิตก่อนมาถึงห้องฉุกเฉิน : จำนวน อายุ และพาหนะ เปรียบเทียบข้อมูลผู้ป่วยปี : จำนวน และอายุ - โรงพยาบาลสงขลา : ผู้ป่วยทั้งหมด : จำแนกรายเดือน รถจักรยานยนต์ และรถจักรยานยนต์รักษาแล้วกลับบ้าน เปรียบเทียบข้อมูลผู้ป่วยปี : จำนวน และรถจักรยานยนต์
3
รพ.สงขลานครินทร์ 2549 รักษากลับบ้าน : หญิง/ชาย
จำนวน
4
รพ.สงขลานครินทร์ 2549 รักษากลับบ้าน : จยย.ชาย/จยย.
จำนวน
5
รพ.สงขลานครินทร์ 2549 : รักษากลับบ้าน
คำชี้แจงข้อมูล : ผู้ป่วยรักษาแล้วกลับบ้าน 3,018 ราย เฉลี่ย = 251 ราย/เดือน เพศชาย 1,699 ราย = 56% (1,699/3,018) เพศหญิง 1,319 ราย = 44% (1,319/3,018) จยย.ทั้งหมด 2,506 ราย = 83% (2,506/3,018) จยย.เพศชาย 1,412 ราย = 56% (1,412/2,506) ข้อสังเกต : ไม่มีเดือนใดที่มีจำนวนเด่นอย่างชัดเจน แต่อาจเป็นเดือนมิถุนายน กรกฎาคม และสิงหาคม
6
รพ.สงขลานครินทร์ 2549 รับไว้รักษา : หญิง/ชาย
จำนวน
7
รพ.สงขลานครินทร์ 2549 รับไว้รักษา : จยย.ชาย/จยย.
จำนวน
8
รพ. สงขลานครินทร์ 2549 : รับไว้รักษา
คำชี้แจงข้อมูล : ผู้ป่วยรับไว้รักษา 1,060 ราย เฉลี่ย = 88 ราย/เดือน เพศชาย ราย = 71% (751/1,060) เพศหญิง 309 ราย = 29% (309/1,060) จยย.ทั้งหมด 814 ราย = 77% (814/1,060) จยย.ชาย ราย = 73% (597/814) ข้อสังเกต : เดือนเมษายน และเดือนสิงหาคมมีจำนวนผู้บาดเจ็บสูงสุด 112 ราย
9
รพ. สงขลานครินทร์ 2549 : เสียชีวิตก่อนมาถึงห้องฉุกเฉิน
รพ. สงขลานครินทร์ 2549 : เสียชีวิตก่อนมาถึงห้องฉุกเฉิน คือ เสียชีวิตที่จุดเกิดเหตุ หรือก่อนมาถึงห้องฉุกเฉิน จำนวน : 13 ราย ชาย 12 ราย หญิง 1 ราย อายุ : ระหว่าง 9-55 ปี อายุเฉลี่ย = 30 อายุระหว่าง 9-25 ปี จำนวน 9 ราย = 69% พาหนะ : จยย.10 ราย รถบรรทุก 1 ราย รถยนต์ 1 ราย ไม่ระบุพาหนะ 1 ราย
10
เปรียบเทียบ 2548-2549 (รพ.สงขลานครินทร์) รักษากลับบ้าน : จำนวน
% ของผู้ป่วย/เดือนของปี
11
เปรียบเทียบ 2548-2549 (รพ.สงขลานครินทร์) รักษากลับบ้าน : อายุ
% ของผู้ป่วยแต่ละปี
12
2548-2549 (รพ.สงขลานครินทร์) รักษากลับบ้าน
คำชี้แจงข้อมูล : จำนวน ปี 2548 ผู้ป่วยรักษาแล้วกลับบ้าน 2,983 ราย เฉลี่ย = 249 ราย/เดือน ปี 2549 ผู้ป่วยรักษาแล้วกลับบ้าน 3,018 ราย เฉลี่ย = 252 ราย/เดือน ข้อสังเกต : เปรียบเทียบจากสัดส่วนค่าเฉลี่ยของแต่ละปี พบว่า โดยภาพมีมีสัดส่วนใกล้เคียง นอกจากเดือนพฤษภาคม และสิงหาคม มีจำนวนผู้บาดเจ็บเพิ่มขึ้น แต่เดือนกันยายนกลับมีผู้บาดเจ็บลดลง อายุ ภาพรวมผู้บาดเจ็บ ปี 2548 และ 2549 ไม่แตกต่างกัน คือสัดส่วนผู้บาดเจ็บ ~ 80% อายุต่ำกว่า 35 ปี และ ~ 50% อายุระหว่าง ปี ข้อสังเกต : พฤติกรรมของผู้ใช้รถกลุ่มเยาวชน-คนหนุ่มสาว ไม่เปลี่ยนแปลง
13
เปรียบเทียบ 2548-2549 (รพ.สงขลานครินทร์) รับไว้รักษา : จำนวน
% ของผู้ป่วย/เดือนของปี
14
เปรียบเทียบ 2548-2549 (รพ.สงขลานครินทร์) รับไว้รักษา : อายุ
% ของผู้ป่วยแต่ละปี
15
2548-2549 (รพ.สงขลานครินทร์) รับไว้รักษา
คำชี้แจงข้อมูล : จำนวน ปี 2548 ผู้ป่วยรับไว้รักษาในโรงพยาบาล 877 ราย เฉลี่ย = 73 ราย/เดือน ปี 2549 ผู้ป่วยรับไว้รักษาในโรงพยาบาล 1,060 ราย เฉลี่ย = 88 ราย/เดือน ข้อสังเกต : ภาพรวมผู้ป่วยบาดเจ็บที่ต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล มีจำนวนเพิ่มขึ้น 20% เมื่อเปรียบเทียบจากสัดส่วนค่าเฉลี่ยรายเดือน พบว่า เดือนเมษายน สูงขึ้นมาก อายุ ภาพรวมผู้บาดเจ็บที่รับไว้รักษา ปี 2548 และ 2549 ไม่แตกต่างกัน คือสัดส่วนผู้บาดเจ็บ ~ 70% อายุต่ำกว่า 35 ปี และ ~ 35% อายุระหว่าง ปี
16
รพ.สงขลา 2549 : จยย.รักษากลับบ้าน/จยย./จำนวนผู้ป่วย
17
เปรียบเทียบ 2548-2549 (รพ.สงขลา) จำนวนผู้ป่วยรายเดือน
% ของผู้ป่วย/เดือนของปี
18
เปรียบเทียบ 2548-2549 (รพ.สงขลา) จยย. และจยย.รักษาแล้วกลับบ้าน
% ต่อค่าเฉลี่ย/ปี
19
2548-2549 (รพ.สงขลา) : จำนวน จยย. และ จยย.รักษาแล้วกลับบ้าน
คำชี้แจงข้อมูล : ปี 2548 - ผู้ป่วยทั้งหมด 4,683 ราย เฉลี่ย = 390 ราย/เดือน - จยย.ทั้งหมด = 82%(3,841/4,683) - จยย.รักษาแล้วกลับบ้าน = 75%(2,871/3,841) ปี 2549 - ผู้ป่วยทั้งหมด 5,191 ราย เฉลี่ย = 433 ราย/เดือน - จยย.ทั้งหมด = 82%(4,271/5,191) - จยย.รักษาแล้วกลับบ้าน = 76%(3,260/4,271)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.