งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการธรรมชาติเกื้อกูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการธรรมชาติเกื้อกูล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการธรรมชาติเกื้อกูล

2 จัดทำโดยกลุ่ม “ ก้าวใหม่รีไซเคิล “ ที่ปรึกษาด้านเทคนิค ผศ. พญ
จัดทำโดยกลุ่ม “ ก้าวใหม่รีไซเคิล “ ที่ปรึกษาด้านเทคนิค ผศ.พญ.ยุวรีย์ พิชิตโชค ที่ปรึกษาโครงการ นางเยาวดี ฟ้าสว่าง ที่ปรึกษากลุ่ม นางพรรณี สระสม ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. นายอนันต์ มากน้อยแถม 8. นายสุเทพ วังวารี 2. นายน้อย ดิษวงค์ 9. นายวิชัย แก้วกัลยา 3. นายสมภพ เสวกพันธ์ 10.นายพรศักดิ์ เย็นอ่อน 4. นายโปรย ตามสอน 11.นายทักษิณ ธานสุวรรณ 5. นายวิชา เพียรทรัพย์ 12.นายธงชัย โพธิ์ชะออน 6. นายยุทธพงศ์ อุปถัมภ์ 13.นายชัยภัทร จันทินมาธร 7. นายยงยุทธ์ นาคเกตุ 14.น.ส.ดวงนภา เล็กลาด 15.นายหลอม คลังเพ็ชร

3 หลักการและเหตุผล ในมหาวิทยาลัยมีต้นไม้ สนามหญ้าและขยะจำนวนมาก ซึ่งต้องมีการตัดแต่งกิ่งไม้ ใบไม้และเศษหญ้า อีกทั้งขยะตามหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อเป็นการลดเวลาในการทำงานและประหยัดในเรื่องการขนทิ้ง จึงนำสิ่งของเหล่านี้มาทำให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ส่วนขยะให้มีการคัดแยก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือขยะรีไซเคิล และขยะทั่วไป มีสถานที่ซื้อขายแน่นอน เป็นการเพิ่มพูนรายได้ให้เหลือไว้เฉพาะส่วนที่มีประโยชน์น้อยที่สุด ที่ต้องนำทิ้ง จึงจำเป็นจะต้องนำเสนอจัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นการต่อยอดโครงการเดิม เพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

4 วัตถุประสงค์ของโครงการธรรมชาติเกื้อกูล
1. เพื่อเป็นการลดการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ และนำกลับมาใช้ใหม่ 2. เพื่อเป็นการลดปริมาณขยะ ที่จะต้องนำทิ้งในแต่ละวัน 3. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความสะอาด มีวินัย นำมา ซึ่งชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย

5 ขอบเขตของโครงการ 1. อาคารเรียนส่วนกลาง 2. อาคารเปรมบุรฉัตร ฯ 3. อาคารจุฬาพัฒน์ฯ 4. อาคารประชาธิปก – รำไพพรรณี 5. อาคารจามจุรี 9 6. อาคารสถาบัน 3 7. อาคารมหิตลาธิเบศร

6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
*** พื้นที่ในมหาวิทยาลัยมีความสะอาดเรียบร้อย *** มหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่าง ๆ ได้รับความรู้ เผยแพร่และ นำมาใช้ประโยชน์ได้

7 ขยายพื้นที่จัดทำโครงการ
อาคารจามจุรี 9 อาคารพินิตประชานาถ

8 ขยายพื้นที่จัดทำโครงการ
อาคารจุฬาพัฒน์ ฯ อาคารสถาบัน 3

9 ขยายพื้นที่จัดทำโครงการ
อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี อาคารมหิตลาธิเบศร

10 สถานที่ในการซื้อขายขยะฝั่งตะวันตก
บริเวณหลังอาคารจามจุรี 9 หลังโรงยิมในร่ม

11 สถานที่ในการซื้อขายขยะฝั่งตะวันตก
ใต้อาคารจามจุรี 5 เรือนเพาะชำ

12 สถานที่ซื้อขายขยะฝั่งตะวันออก
หน้าอาคารพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย โรงอาหารรวมอักษรศาสตร์

13 สถานที่ซื้อขายขยะฝั่งตะวันออก
โรงอาหารรวมคณะวิศวกรรมศาสตร์ อาคารมหิตลาธิเบศร

14 สถานที่ซื้อขายขยะฝั่งตะวันออก
ลานจอดรถตลาดนัดศาลาพระเกี้ยว สถาบัน 3

15 การคัดแยกประเภทขยะในแต่ละวัน
1. ขยะทั่วไป 1.1 ขยะประเภทใบจามจุรี โดยการคัดแยกนำไปทำใบไม้หมัก 1.2 ขยะประเภทเน่าเสีย เช่น ผัก ผลไม้ คัดแยกนำไปทำปุ๋ยน้ำ หมักชีวภาพ 1.3 ขยะประเภทเศษอาหาร และอื่นๆ นำทิ้งถังคอนเทนเนอร์ 2. ขยะรีไซเคิล เช่น กระดาษ พลาสติก ขวดแก้ว โลหะ อลูมิเนียม สามารถนำกลับไปรีไซเคิลได้ หรือเปลี่ยนมูลค่าเป็นเงินได้

16 ขยะที่ยังไม่มีการคัดแยกในแต่ละวัน
วันละ คิว ต่อวัน

17 การคัดแยกขยะแต่ละประเภท

18 ขยะเน่าเสียนำมาดัดแปลงทำน้ำหมักชีวภาพ

19 แปรสภาพเป็นน้ำหมัก ใช้เวลา 15 วัน
แปรสภาพเป็นน้ำหมัก ใช้เวลา 15 วัน

20 การทำใบไม้หมัก ใบไม้แห้งส่งเข้าโรงหมัก กิ่งไม้สดบดย่อย ก่อนหมัก

21 การทำปุ๋ยใบไม้หมัก ใบไม้ที่หมักแล้ว เตรียมผสมกับขุยมะพร้าว

22 เตรียมบรรจุใส่ถุงไว้ใช้งาน

23 ใบไม้หมักนำไปใช้ปลูกต้นไม้ในมหาวิทยาลัย

24 ปัญหาและอุปสรรค ขาดความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ
ขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง จากหน่วยงานต่างๆ

25 THE END


ดาวน์โหลด ppt โครงการธรรมชาติเกื้อกูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google