งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual
หนึ่งเช่นเดียงกับโปรแกรมทั่วไป ที่ต้องประกอบด้วย * ข้อมูลนำเข้า (Input) * ผลลัพธ์ (Output) * ส่วนการประมวลผล ( Process ) โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

2 --------------------- joint data and function design
Design document Data requirements Data design joint data and function design Data schema Functional requirements Function schema Application requirements High – level application specifications โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

3 Input ในระดับ Conceptual
- ความต้องการทางด้านข้อมูล ( Data Requirements) อธิบายถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่ต้องการจัดเก็บไว้มนฐานข้อมูล และความสัมพันธ์ของข้อมูลที่จะประกอบกันขึ้น โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

4 Functional Requirements
- เป็นความต้องการที่อิบายถึงขั้นตอนการทำงานต่างๆ ที่ปรากฏใน ระบบ เช่น การจัดทำใบสั่งซื้อ การสั่งซื้อ รวมทั้งข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ในแต่ละขั้นตอนการทำงาน และการไหลของข้อมูล ( Data Flow ) โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

5 Application Requirements
- เป็นความต้องการที่อธิบายถึงการทำงาน ( Operation ) ต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับข้อมูลเช่น การป้อนข้อมูลพนักงานใหม่ การปรับเงินเดือนของพนักงาน โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

6 ผลลัพธ์ ( Output) ที่ได้จากการออกแบบฐานข้อมูล
Conceptual Data schema หรือ Conceptual schema เป็น output ที่ใช้อธิบายถึงรายละเอียดทั้งหมดของข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในความต้องการ โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

7 Function schema - เป็น Output ที่ใช้อธิบายถึงฟังค์ชั่น และขั้นตอนการทำงานที่จะปรากฏ อยู่ในระบบสารสนเทศ ( Information ) โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

8 High – level Application Specification
เป็น Output ที่ใช้อธิบายถึงการทำงานต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ ฐานข้อมูล (Data base ) ที่ได้ออกแบบไว้ โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

9 Design Document เป็น Output ที่ใช้อธิบายส่วนเพิ่มเติมของ Output อื่น ๆ
* เพื่อประโยชน์ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงความต้องการหรือแก้ไข ปรับปรุงฐานข้อมูล โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

10 Initial Conceptualization -Integration -Restructuring
Requirement Analysis Initial Conceptualization -Integration -Restructuring โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

11 ผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะศึกษาความต้องการอย่างละเอียด
Requirement Analysis ผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะศึกษาความต้องการอย่างละเอียด *เพื่อแยกแยะและกำจัดความต้องการที่คุมเครือและไม่จำเป็นต่อการออกแบบทิ้งไป โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

12 Initial Conceptualization
ผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะสร้าง Conceptual schema ที่มีโครงสร้างในรูปแบบของ Abstraction อย่างหยาบ ๆ ประกอบด้วย - Entity - Relationship - Generalization ของโครงสร้างหลัก ๆ โดยมีจุดมุ่งหมายทิศทางในการออกแบบ โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

13 Integration ผู้ออกแบบฐานข้อมูลนำเอาโครงสร้างที่ออกแบบไว้ในขั้นตอน
Initial แต่ละส่วนมารวมกัน (Merging) เป็นโครงสร้างที่สมบูรณ์ รวมทั้งกำจัดโครงสร้างที่เกิดความขัดแย้ง(Conflict) โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

14 Restructuring เป็นขั้นตอนปรับปรุง Conceptual schema ที่ได้ ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นเช่นการทำ Normalization โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

15 Refinement การออกแบบในระดับ Conceptual ด้วย E – R Model อาศัยกระบวนการออกแบบลักษณะการทำซ้ำ ที่เริ่มจากกำหนดแบบร่าง( Draft schema) แล้วค่อยปรับเปลี่ยนแบบร่างให้มีความละเอียดสมบูรณ์ เรียกว่า “Refinement” โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

16 สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการทำ Refinement
การแปลงทุกครั้งจะต้องมี Input ที่เป็นโครงสร้างที่เริ่มต้น (Starting schema) และ Output ที่เป็นโครงสร้างที่ได้รับการเปลี่ยนแปลง (Resulting schema) เสมอ โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

17 2. การแปลงทุกครั้งจะต้องแปลงจากConcept
(โครงสร้างE–R Model ณ ขณะใดขณะหนึ่ง)เป็นConceptใหม่ 3. Concept ที่เกิดจากการแปลงทุกครั้ง จะต้องยังคงความสัมพันธ์กับ Concept ในส่วนอื่นๆที่ไม่ถูกแปลงไว้เช่นเดิม โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

18 จาก E-R Model ที่มี Concept เริ่มต้น
Example จาก E-R Model ที่มี Concept เริ่มต้น โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง Live_in Place Person โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

19 เมื่อ Entity “Place” ถูกขยายความเป็น Concept ใหม่ จะมีรายละเอียดมากขึ้น
City Place in State โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

20 Concept ที่ขยายความจาก Entity Place ยังคงความสัมพันธ์กับEntity Person เดิม
City Live_in Person In State โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง


ดาวน์โหลด ppt การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google