ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ยินดีต้อนรับ
2
อาคาร SC 3 ที่ตั้งของภาควิชาชีววิทยา
3
เปิดสอนหลักสูตร 4 หลักสูตร
ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต วท.บ. (ชีววิทยา) ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วท.ม. (ชีววิทยา) ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วท.ม. (ชีววิทยาครู) ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ปร.ด. (ชีววิทยา)
4
ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต วท.บ. (ชีววิทยา)
หลักสูตร 4 ปี รับนักศึกษาประมาณปีละ 90 คน รับตรง (โควตา) แอดมิชชัน โครงการพิเศษ (พสวท.) อื่นๆ เน้นการศึกษาทางด้านชีววิทยาทั่วไป พฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ และวิชาเลือกในสาขาที่สนใจ 135 หน่วยกิต
5
ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วท.ม. (ชีววิทยา)
หลักสูตร 2 ปี รับนักศึกษาโดยการสอบคัดเลือก ศึกษารายวิชาต่าง ๆ 21 หน่วยกิต และวิทยานิพนธ์ 15 หน่วยกิต สาขาพฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล และเทคโนโลยีชีวภาพ
6
ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วท.ม. (ชีววิทยาครู)
หลักสูตร 3 ภาคการศึกษา รับนักศึกษาโดยการสอบสัมภาษณ์ ศึกษารายวิชาต่าง ๆ แผน ก 24 หน่วยกิต และวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต แผน ข ศึกษารายวิชาต่างๆ 32 หน่วยกิต การศึกษาอิสระ 4 หน่วยกิต สาขาพฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล และเทคโนโลยีชีวภาพ * รับเฉพาะผู้มีประสบการณ์สอนชีววิทยาอย่างน้อย 1 ปี
7
ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ปร.ด. (ชีววิทยา)
หลักสูตร 3 ปี รับนักศึกษาโดยการสอบคัดเลือก ศึกษารายวิชาต่าง ๆ 12 หน่วยกิต และวิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต หรือศึกษาวิทยานิพนธ์อย่างเดียว 48 หน่วยกิต สาขาพฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล และเทคโนโลยีชีวภาพ
8
ผู้บริหารภาควิชา รศ.ดร.นฤมล แสงประดับ หัวหน้าภาควิชา
9
รศ.ดร.อำพา เหลืองภิรมย์ รองหัวหน้าภาควิชาฝ่ายบริหาร
รศ.ดร.ปิยะดา ธีระกุลพิศุทธิ์ รองหัวหน้าภาควิชาฝ่ายวิชาการ ผศ.ดร.วัฒนา พัฒนากูล รองหัวหน้าภาควิชาฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ และประชาสัมพันธ์ นางอุราวรรณ ดีโยธา เลขานุการภาควิชาชีววิทยา
10
คณาจารย์ ภาควิชาชีววิทยามีคณาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ เช่นพฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ ชีววิทยาโมเลกุล และเทคโนโลยีชีวภาพ รวม 37 คน ตำแหน่ง/คุณวุฒิ ตรี โท เอก รวม อาจารย์ - 2 12 14 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 4 9 13 รองศาสตราจารย์ 8 ศาสตราจารย์ 6 31 37
11
ห้องปฏิบัติการแพลงก์ตอน
12
ห้องปฏิบัติการชีววิทยาแหล่งน้ำจืด
13
ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
14
ห้องปฏิบัติการชีววิทยาระดับโมเลกุล
15
ห้องปฏิบัติการสรีรวิทยาของพืช
16
ห้องปฏิบัติการกายวิภาคศาสตร์ของพืช
17
ห้องปฏิบัติการอนุกรมวิธานของพืช
18
งานวิจัย อนุกรมวิธานของพืชดอกและเฟิร์น
อนุกรมวิธานของสัตว์ แพลงก์ตอน และสาหร่าย กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบของพืช เรณูของพืชดอก และสปอร์ของเฟิร์น สรีรวิทยาของพืช สรีรวิทยาความเครียด และสรีรวิทยาของพืชหลังการเก็บเกี่ยว สรีรวิทยาของสัตว์
19
งานวิจัย (ต่อ) เซลล์พันธุศาสตร์ของพืชและสัตว์
ชีววิทยาระดับโมเลกุลของพืชและสัตว์ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และการทำเมล็ดเทียม การส่งถ่ายยีนสู่พืช พิษวิทยาและจุลพยาธิวิทยาของสัตว์น้ำ นิเวศวิทยาแหล่งน้ำจืด
20
ศูนย์วิจัยอนุกรมวิธานประยุกต์
เป็นแหล่งศึกษาวิจัย และศูนย์ให้บริการเกี่ยวกับอนุกรมวิธานของพืชและเห็ดราท้องถิ่น โดยเฉพาะพืชสมุนไพร และละอองเรณู การตรวจหาลายพิมพ์ดีเอ็นเอ และโครโมโซม เพื่อใช้ประโยชน์กับผลิตผลการเกษตร การใช้ดัชนีทางชีววิทยา ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
21
ความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ
สาขาอนุกรมวิธานพืช - Prof. Kai Larsen - Univ. of Aarhus, Denmark - Assoc. Prof. Simon Laegaard – Univ. of Aarhus, Denmark - Dr. David Simpson – Royal Botanic Garden, Kew, UK - Dr. Alan Paton – Royal Botanic Garden, Kew, UK - Dr. Robert B. Faden – Smithsonian Institute, Washington DC, USA
22
ความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ
สาขาสรีรวิทยาของพืช - Prof. Larry Boersma – Oregon State University, USA - Prof. Timothy Righetti – Oregon State University, USA - Prof. Randolph Beaudry – Michigan State University, USA - Dr. Sarah Lingle – Southern Regional Research Center, USA
23
ความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ
สาขาชีววิทยาน้ำจืด และอนุกรมวิธานแพลงก์ตอนสัตว์น้ำจืด - Dr. Russell J. Shiel – The University of Adelaide, SA, Australia - Dr. Hendrik Segers – Royal Belgian Institute of Natural Science, Brussels, Belgium - Dr. Peter Starkweather – University of Nevada, USA
24
ความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ
สาขานิเวศวิทยาแหล่งน้ำจืดและแมลงน้ำ - Dr. Micheal T. Barbur – Tetra Tech, Inc., Maryland, USA
25
กิจกรรม นิทรรศการสัปดาห์วิทยาศาสตร์
26
กิจกรรม ค่ายโอลิมปิกวิชาการ สาขาชีววิทยา
27
กิจกรรม ค่ายเยาวชนชีววิทยา
28
กิจกรรม ทัศนศึกษาระบบนิเวศทางทะเล
29
กิจกรรม ทัศนศึกษาพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
30
ความภูมิใจและความสำเร็จของภาควิชา
31
ติดต่อภาควิชา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.เมือง จ. ขอนแก่น 40002 โทรศัพท์: (043)342908 โทรสาร: (043)364169 เว็บไซต์: Facebook:
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.