งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การแถลงข่าวการค้าระหว่างประเทศของไทย เดือนมกราคม 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การแถลงข่าวการค้าระหว่างประเทศของไทย เดือนมกราคม 2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การแถลงข่าวการค้าระหว่างประเทศของไทย เดือนมกราคม 2559
การแถลงข่าวการค้าระหว่างประเทศของไทย เดือนมกราคม 2559 วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 6 กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

2 IMF ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจโลกเหลือ 3.4
IMF World Economic Outlook Update/January 2016 -1.0 -0.4 3.4 -0.2 1.0 0.0 6.3 0.0 1.7 +0.1 2.6 -0.2 7.5 0.0 Oli Price -3.5 -2.5 -17.6 -15.2 ภาพรวมเศรษฐกิจโลกและตลาดคู่ค้าหลักของไทยในปัจจุบันฟื้นตัวช้ากว่าที่คาดการณ์ไว้ มีผลให้กำลังซื้อในตลาดโลกลดลง โดยเฉพาะสหภาพยุโรป จีน ญี่ปุ่นและอาเซียน ด้วยเหตุนี้ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) จึงมีการทบทวนตัวเลขคาดการณ์ทางเศรษฐกิจโลก โดยปรับลดลงจากที่คาดไว้ว่าเศรษฐกิจโลกจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.8 เป็นขยายตัวที่ร้อยละ 3.5 ในรายงานคาดการณ์เดือนมกราคม 2558 โดย IMF ปรับลดคาดการณ์อัตราขยายตัวของกลุ่มประเทศยูโรโซน จีน ญี่ปุ่น อินเดีย อาเซียน ขณะที่มีเพียงสหรัฐอเมริกาที่มีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างชัดเจน คาดการณ์ Real GDP 2015 Growth(%YoY) โดย IMF มกราคม 59 IMF ปรับคาดการณ์จากรายงานเดือนตุลาคม 58 4.8 -0.1 Ministry of Commerce 2

3 ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกหดตัวสูงต่อเนื่อง
ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกปี 2558 อยู่ที่ ดอลลาร์ต่อบาร์เรลลดลงร้อยละ -47.0 จากปี 2557 ขณะที่มกราคม 2559 อยู่ที่ ดอลลาร์ต่อบาร์เรลลดลงร้อยละ เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน มูลค่าส่งออกและนำเข้า(ล้านเหรียญ) ราคาน้ำมันดิบ (USD/บาร์เรล) 46.34 27.25 ราคาน้ำมันเฉลี่ยของปี 2557 (2014) เท่ากับ USD ต่อบาร์เรล ราคาน้ำมันเฉลี่ยของปี 2558 (2015) เท่ากับ USD ต่อบาร์เรล 948 381 Ministry of Commerce

4 ราคาสินค้าเกษตรสำคัญ ปี 2006-2015 (USD/Ton)
ที่มา มูลค่าการค้าโลกหารด้วยปริมาณ โดย : สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) ที่มา : ราคาสินค้าเกษตรไทย (คน. สศก. กกร.) ราคาสินค้าเกษตรโลก (คำนวณจาก GTA)

5 ค่าเงินบาท แม้ว่าค่าเงินบาทตลอดปี 2558 จะมีทิศทางอ่อนค่าแต่ยังแข็งค่าเมื่อเทียบกับคู่ค้า ขณะที่มกราคม 59 เริ่มกลับมาแข็งค่าแต่เป็นในทิศทางเดียวกันกับค่าเงินของประเทศคู่ค้า เปรียบเทียบค่าเงินบาทกับสกุลต่างๆ ปี 2558 และมกราคม ปี 2559 เทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ค่าเงินบาทเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ค่าเงินบาทในเดือนกรกฎาคม 2558 เฉลี่ยอยู่ที่ 32.5 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้า ที่ร้อยละ 0.4 ขณะที่แนวโน้มเดือนกรกฎาคม ค่าเงินบาทมีแนวโน้มอ่อนค่า หลังจากกลังจากคณะกรรมการนโยบายการเงินมีมติลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ลงร้อยละ 0.25 จากระดับร้อยละ 1.75 เป็นร้อยละ 1.50 ในการประชุมครั้งที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2558 ส่งผลให้ค่าเงินบาทอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐอย่างต่อเนื่องโดย ณ วันที่ 22 กรกฎาคม 2558 ค่าเงินบาทเดือนกรกฎาคมมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 33.5 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับ เดือนกรกฎาคมที่ร้อยละ 3.0 ซึ่งคาดว่าจะส่งผลช่วยหนุนให้การส่งออกปรับตัวในทิศทางดีขึ้นในระยะต่อไป ส่งผลให้ค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับสกุลเงินต่างๆมีแนวโน้มอ่อนค่าลงในเดือนกรกฎาคม 2558 ค่าเงินบาทเทียบกับดอลลาร์สหรัฐเดือนกรกฎาคม 2558อ่อนค่าร้อยละ 3.0 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน ขณะที่ช่วง7 เดือนม.ค.-ก.ค.2558 ค่าเงินบาทอ่อนค่าร้อยละ 0.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ค่าเงินบาทเทียบกับค่าเงินยูโรโซน เยน และริงกิต เดือนกรกฎาคม 2558 มีแนวโน้มแข็งค่าที่ร้อยละ , และ -7.5 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อนตามลำดับ แข็งค่าน้อยลง โดยช่วง7 เดือนม.ค.-ก.ค.2558 ค่าเงินบาทแข็งค่าร้อยละ , และ -9.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ตามลำดับ ค่าเงินบาทเทียบกับค่าเงินยูโรโซน หยวน และด่องเดือนกรกฎาคม 2558 มีแนวโน้มกลับมาอ่อนค่าที่ร้อยละ 3.5 และ 2.1 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อนตามลำดับ ขณะที่ช่วง7 เดือนม.ค.-ก.ค.2558 ค่าเงินบาทแข็งค่าร้อยละ -1.5 และ -3.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ตามลำดับ ผลกระทบจากการอ่อนค่าของเงินบาทต่อการนำเข้าและการส่งออกของไทย ด้านบวก กระตุ้นให้การส่งออกเติบโตขึ้น โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าที่ผลิตในประเทศและใช้วัตถุดิบภายในประเทศ (เช่น สินค้าเกษตร (ยางพารา ข้าว มันสำปะหลัง น้ำตาล)) รายได้จากการส่งออกเพิ่มขึ้น กระตุ้นการท่องเที่ยวในประเทศ กระตุ้นให้นักลงทุนไทยไปลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น ด้านลบ ผู้ประกอบการที่นำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ (สินค้าอุปโภคบริโภค เครื่องจักร เหล็ก วัตถุดิบ พลังงาน เคมีภัณฑ์) ต้องนำเข้าสินค้าที่มีราคาแพงขึ้น และส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นด้วย ผู้ประกอบการธุรกิจที่ต้องกู้ยืมเงินตราต่างประเทศ ต้องชำระหนี้เป็นจำนวนที่สูงขึ้น กลุ่มอุตสาหกรรมที่มีอัตรากำไรขั้นต้นต่ำ (เช่น กลุ่มพลังงาน) อาจผลักภาระไปให้ผู้บริโภค โดยการขึ้นราคาสินค้า อย่างไรก็ตาม ในขณะนี้ ผลกระทบโดยรวมจากการอ่อนค่าของเงินบาทต่อการนำเข้าและการส่งออกของไทยยังไม่ชัดเจน โดยสินค้าที่ใช้วัตถุดิบในประเทศน้อย จะได้รับผลกระทบจากการนำเข้าวัตถุดิบในราคาที่แพงขึ้น ในขณะสินค้าที่ผลิตในประเทศและใช้วัตถุดิบในประเทศจะได้รับประโยชน์จากการอ่อนค่าของเงินบาทมากกว่า นอกจากนี้ ค่าเงินบาทยังมีความผันผวนสูง ผู้ประกอบการจึงอาจพิจารณาทำประกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนไว้ด้วย 24 ก.พ.58 หมายเหตุ : อัตราขยายตัว (%YoY) (-)เงินบาทแข็งค่า (+)เงินบาทอ่อนค่า ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย 5 Ministry of Commerce

6 สถานการณ์นำเข้ารวมของประเทศต่างๆ ยังคงหดตัวลดลงอยู่ในระดับต่ำ
การนำเข้าของประเทศคู่ค้าสำคัญทุกประเทศ (สหรัฐฯ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น จีน สหภาพยุโรป (27) คิดเป็นร้อยละ 62 ของมูลค่าการนำเข้าโลก) ยังคงหดตัวลดลงอยู่ในระดับต่ำ ที่มา: World Trade Atlas Ministry of Commerce

7 สถานการณ์นำเข้ารวมของประเทศต่างๆ
ม.ค. – ธ.ค ประเทศคู่ค้าทุกประเทศยังคงหดตัว (อัตราการขยายตัว : %YoY) หมายเหตุ: *ข้อมูล 11 เดือน **ข้อมูล 9 เดือน ที่มา: Global Trade Atlas โดยการคำนวณของสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า Ministry of Commerce

8 เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มพึ่งพาการนำเข้าลดลง
ตั้งแต่ปี 2555 อัตราขยายตัวการนำเข้าโลกมีทิศทางขยายตัวต่ำกว่า GDP โลก สะท้อนว่าโลกมีการพึ่งพาการนำเข้าลดลง เปรียบเทียบอัตราขยายตัวมูลค่าการค้าโลกและ GPD ของโลก กับการส่งออกไทย (หน่วย : %YoY) ภาพรวมเศรษฐกิจโลกและตลาดคู่ค้าหลักของไทยในปัจจุบันฟื้นตัวช้ากว่าที่คาดการณ์ไว้ มีผลให้กำลังซื้อในตลาดโลกลดลง โดยเฉพาะสหภาพยุโรป จีน ญี่ปุ่นและอาเซียน ด้วยเหตุนี้ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) จึงมีการทบทวนตัวเลขคาดการณ์ทางเศรษฐกิจโลก โดยปรับลดลงจากที่คาดไว้ว่าเศรษฐกิจโลกจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.8 เป็นขยายตัวที่ร้อยละ 3.5 ในรายงานคาดการณ์เดือนมกราคม 2558 โดย IMF ปรับลดคาดการณ์อัตราขยายตัวของกลุ่มประเทศยูโรโซน จีน ญี่ปุ่น อินเดีย อาเซียน ขณะที่มีเพียงสหรัฐอเมริกาที่มีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างชัดเจน Trade (แกนขวา) ที่มา : IMF World Economic Outlook (WEO) Update/January 2016 Ministry of Commerce 8

9 สถานการณ์ส่งออกของประเทศคู่ค้า
ไทยมีทิศทางสถานการณ์ส่งออกที่ดีกว่าหลายประเทศ ที่มีระดับของโครงสร้างการส่งออกใกล้เคียงกัน อัตราขยายตัวมูลค่าส่งออก แบบเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดือน (หน่วย : %YoY) -7.7 -9.4 -10.9 -14.4 -15.6 -19.0 ที่มา: World Trade Atlas Ministry of Commerce

10 สถานการณ์ส่งออกของประเทศต่างๆ
ม.ค. – ธ.ค ประเทศคู่แข่งทุกประเทศมีทิศทางหดตัว (อัตราการขยายตัว : %YoY) ที่มา: Global Trade Atlas โดยการคำนวณของสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า ตัวเลขใน ( ) คืออันดับการส่งออกของประเทศนั้นในโลกของทั้งปี 2557 หมายเหตุ: *ข้อมูล 11 เดือน **ข้อมูล 9 เดือน Ministry of Commerce

11 Market Share ของไทยในตลาดคู่ค้าสำคัญมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น(%Share )
ตลาดหลัก (ญี่ปุ่น) (สหรัฐอเมริกา) (EU (27)) (จีน) ที่มา: World Trade Atlas Ministry of Commerce

12 Market Share ของไทยในตลาดคู่ค้าสำคัญมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ตลาดรอง (ฮ่องกง) (มาเลเซีย) (สิงคโปร์) (เกาหลีใต้) (ไต้หวัน) (อินเดีย) ที่มา: World Trade Atlas Ministry of Commerce

13 ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย ในรูปสกุลเงินบาท (ล้านบาท)
มกราคม 2559 มูลค่า Growth (%) มูลค่าการค้า 1,124,807 -1.89 การส่งออก 563,423 0.04 การนำเข้า 561,383 -3.75 ดุลการค้า 2,040 ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทยกับโลก เดือนมกราคม 2558 ล้านบาท 1. มูลค่าส่งออกรวม 548,460 ล้านบาท หดตัวร้อยละ (YoY) 2. มูลค่านำเข้ารวม 572,284 ล้านบาท หดตัวร้อยละ (YoY) 3. ดุลการค้ารวม ไทย ขาดดุล -23,823 ล้านบาท ระยะ 1 เดือน (ม.ค.-ม.ค. 2558) 1. มูลค่าส่งออกรวม 2,280,954 ล้านบาท หดตัวร้อยละ (YoY) 2. มูลค่านำเข้ารวม 2,278,488 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -6.01(YoY) 3. ดุลการค้ารวมของไทย มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น เกินดุล 2,466 ล้านบาท 13 ที่มา: กรมศุลกากร คำนวณโดยสำนักพาณิชย์ดิจิตอลและสารสนเทศ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ

14 รายได้จากการส่งออกของไทย ในรูปเงินบาท กลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 0.04
14 Ministry of Commerce

15 ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย ในรูปสกุลดอลลาร์ (ล้านเหรียญฯ)
มกราคม 2559 มูลค่า Growth (%) มูลค่าการค้า 31,185 -10.66 การส่งออก 15,711 -8.91 การนำเข้า 15,474 -12.37 ดุลการค้า 238 ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทยกับโลก เดือนมกราคม 2558 ล้านเหรียญสหรัฐ 1. มูลค่าส่งออกรวม 16,900 ล้านเหรียญสหรัฐ หดตัวร้อยละ (YoY) 2. มูลค่านำเข้ารวม 17,423 ล้านเหรียญสหรัฐ หดตัวร้อยละ (YoY) 3. ดุลการค้ารวม ไทยขาดดุล -523 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ระยะ 1 เดือน (ม.ค.-ม.ค. 2558) 1. มูลค่าส่งออกรวม 70,265 ล้านเหรียญสหรัฐ หดตัวร้อยละ (YoY) 2. มูลค่านำเข้ารวม 69,359 ล้านเหรียญสหรัฐ หดตัวร้อยละ (YoY) 3. ดุลการค้ารวมของไทย มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น เกินดุล 906 ล้านเหรียญสหรัฐฯ 15 ที่มา: กรมศุลกากร คำนวณโดยสำนักพาณิชย์ดิจิตอลและสารสนเทศ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ

16 อัตราขยายตัวของมูลค่าการส่งออกของไทย ในรูปสกุลเงินดอลลาร์
เดือนมกราคม 2559 หดตัวที่ร้อยละ -8.91 16 Ministry of Commerce

17 ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย
มูลค่าส่งออกมกราคม 2559 หักน้ำมันและทองคำหดตัวที่ร้อยละ -5.4  กลุ่มสินค้าส่งออก มกราคม 59 มูลค่า ล้านเหรียญ Growth (%YoY) %Share มูลค่าส่งออกรวม 15,711 -8.91 100 สินค้าเกี่ยวเนื่องน้ำมัน 1,429 -25.2 9.1 ทองคำ 236 -51.2 1.5 หักน้ำมันและทองคำ 14,045 -5.4 89.4 สถานการณ์ราคาน้ำมันดิบหดตัว ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกหดตัวสูง ทำให้ราคาส่งออกกลุ่มสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมันชะลอตัวตาม ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป เคมีภัณฑ์ และเม็ดพลาสติก เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่มีโครงสร้างการใช้วัตถุดิบซึ่งมาจากอุตสาหกรรมการกลั่นปิโตรเลียมค่อนข้างสูง ส่งผลใหมูลค่าส่งออกกลุ่มดังกล่าวหดตัวสูงต่อเนื่อง สินค้าที่เกี่ยวเนื่องน้ำมัน เดือนมกราคม 2558 สินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับน้ำมันหดตัวสูง ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป -16.8% เคมีภัณฑ์ -22.2% และเม็ดพลาสติก -18.3% มีมูลค่าการส่งออกรวม 1,917 ล้านเหรียญฯหดตัวร้อยละ -19.0% ระยะ 1 เดือน ม.ค.-ม.ค.2558 หดตัวร้อยละ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.7 ของมูลค่าการส่งออกรวม ทองคำ เดือนมกราคม 2558 การส่งออกทองคำขยายตัวสูง สาเหตุจากระดับราคาทองคำปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนมีนาคม อยู่ที่ 1,200 ดอลลาร์สหรัฐต่อออนซ์ ส่งผลให้ผู้ส่งออกเร่งการการส่งออกเพื่อทำกำไร ขณะที่การนำเข้าทองคำชะลอตัว การส่งออกทองคำมีมูลค่า 252 ล้านเหรียญฯ ขยายตัวร้อยละ ขณะที่ในระยะ 1 เดือน ม.ค.-ม.ค.2558 หดตัวร้อยละ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.5 ของมูลค่าการส่งออกรวม มูลค่าส่งออกรวมหักน้ำมันและทองคำ มูลค่าการส่งออกเดือนมกราคม2558 ไม่รวมสินค้าส่งออกที่เกี่ยวเนื่องน้ำมัน (น้ำมันสำเร็จรูป เคมีภัณฑ์ และเม็ดพลาสติก) และทองคำ มีมูลค่าการส่งออกอยู่ที่ 14,731ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวที่ร้อยละ 0.1 (YoY) ขณะที่ระยะ 1 เดือน ม.ค.-ม.ค หดตัวที่ร้อยละ -1.2 โดยมีสัดส่วนร้อยละ 87.8 ของมูลค่าการส่งออกรวม 17 ที่มา: กรมศุลกากร คำนวณโดยสำนักพาณิชย์ดิจิตอลและสารสนเทศ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ

18 อัตราขยายตัวของมูลค่าการส่งออกของไทยหักน้ำมันและทองคำ
เดือนมกราคม 2559 หดตัวที่ร้อยละ -5.4 18 Ministry of Commerce

19 สินค้าส่งออก 10 อันดับแรก อัตราขยายตัวของมูลค่าส่งออก %YoY
(12.3%) 2 (9.1%) 3 (3.7%) 4 (3.5%) 5 (3.4%) 6 (3.0%) 7 (3.0%) 8 (2.8%) 9 (2.8%) 10 (2.6%) รายการสินค้า(สัดส่วนต่อมูลค่าส่งออก) 19 Ministry of Commerce

20 สินค้าเกษตร และอุตสาหกรรมเกษตร
มกราคมหดตัวร้อยละ -4.1 หดตัวในอัตราที่ลดลงกว่าปี 2558 สินค้าหดตัว %YoY สินค้าขยายตัว %YoY (2.0%) (2.8%) (1.2%) (1.5%) (1.5%) (1.0%) (1.0%) (0.7%) รายการสินค้า(สัดส่วนต่อมูลค่าส่งออก) 20 Ministry of Commerce

21 สินค้าส่งออกสำคัญหลายรายการมูลค่าหดตัวสูงกว่าปริมาณ
สะท้อนว่าหดตัวจากปัจจัยด้านราคาเป็นสำคัญ ขณะที่ปริมาณส่งออกยังขยายตัว 21 Ministry of Commerce

22 สินค้าอุตสาหกรรม มกราคมหดตัวร้อยละ -8.5 ตามสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมันและทองคำที่หดตัวสูงขึ้น สินค้าหดตัว (%YoY) สินค้าขยายตัว (%YoY) (3.9%) (8.2%) (3.2%) (3.0%) รายการสินค้า(สัดส่วนต่อมูลค่าส่งออก) 22 Ministry of Commerce

23 การส่งออกรายกลุ่มตลาด
ตลาด CLMV ยังมีทิศทางเติบโตต่อเนื่อง ขณะที่ตลาดหลักสำคัญยังคงชะลอ ตลาดส่งออก (%YoY) มกราคม 2559 ปี 2558 (%YoY) (%AoA) %Share ตลาดหลัก (Matured Market) -7.1 -4.0 29.8 ญี่ปุ่น -10.1 -7.7 9.4 สหรัฐอเมริกา -8.5 0.7 11.2 สหภาพยุโรป(15) -2.4 -5.7 9.3 ตลาดศักยภาพสูง (Dynamic Market) -9.4 -6.7 49.5 อาเซียน(9) -8.8 -7.2 25.7 อาเซียนเดิม (5) -14.9 -15.1 15.3 อินโดจีน(4): CLMV 1.2 7.7 10.4 จีน -6.1 -5.4 11.1 เอเชียใต้ (8) -3.6 3.6 ตลาดศักยภาพระดับรอง (Emerging Market) -6.5 -7.3 19.0 ทวีปออสเตรเลีย (25) 13.6 5.3 ตะวันออกกลาง (15) -12.1 -10.0 4.8 ตลาดส่งออก (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) สินค้าส่งออกสำคัญ(%YoY) สาเหตุ ญี่ปุ่น (-3.0%) มูลค่า 1,603 1.รถยนต์ และส่วนประกอบ (+4.6) 2.ไก่แปรรูป(+12.6) 3.เครื่องจักรกล(+6.0) 4.คอมพิวเตอร์ (-20.0) 5.โทรทัศน์(+5.4) 6.เม็ดพลาสติก(-45.1) เศรษฐกิจญี่ปุ่นฟี้นตัวช้ากว่าที่คาดการณ์ประกอบค่าเงินบาทมีทิศทางแข็งค้างเมื่อเทียบกับสกุลเงินเยน สหรัฐอเมริกา (+8.4%) มูลค่า 1,937 1.เครื่องคอมพิวเตอร์ฯ(+38.3)  2. โทรทัศน์(+44.1) 3.ผลิตภัณฑ์ยาง(+7.1) 4. อัญมณีและเครื่องประดับ (-22.7) เครื่องนุ่งห่ม(-6.2). 6. อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป (-20.5) สภาวการณ์จ้างงานมีทิศทางที่ดีขึ้น ส่งผลให้การบริโภคสินค้าคงทน และการลงทุนภาคเอกชน เพิ่มขึ้น สหภาพยุโรป-15 (-3.5%) มูลค่า 1,532 1.เครื่องคอมพิวเตอร์(-0.4) 2. อัญมณีและเครื่องประดับ(+20.5) 3. รถยนต์ และส่วนประกอบ(+98.2) 4. ไก่แปรรูป (-7.1) 5.แผงวงจรไฟฟ้า(+4.6) เศรษฐกิจสหภาพยุโรปฟี้นตัวช้ากว่าที่คาดการณ์ประกอบค่าเงินบาทมีทิศทางแข็งค้างเมื่อเทียบกับสกุลเงินยูโรโซน หลังจากที่ EU ใช้นโยบายการเงินเพื่อกระต้นเศรษฐกิจ อาเซียน-9 (-6.1%) มูลค่า 4,255 1. รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (+3.5) 2.น้ำมันสำเร็จรูป (-29.2) 3.เคมีภัณฑ์(+13.9) 4. เครื่องจักรกล (-8.9) 5.เครื่องคอมพิวเตอร์ (+3.3) 6. เหล็ก (-17.2) สิงคโปร์(+2.3) มาเลเซีย(-24.6) อินโดนิเซีย(-10.7) ฟิลิปปินส์(-0.1) บรูไน(-27.3) กัมพูชา(+0.7) ลาว(-0.8) พม่า(-5.2) เวียดนาม(+12.8) จีน (+1.1%) มูลค่า 1,869 1. เม็ดพลาสติก(-16.6) 2. ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง(+76.0) 3. เคมีภัณฑ์ (-35.5) 4. ผลิตภัณฑ์ยาง(+32.9) 5.เครื่องคอมพิวเตอร์ (-20.5) 6. ยางพารา(-33.4) กลับมาขยายตัวในรอบ 1 เดือน (ก.ค.57) โดยสินค้าเกษตรสำคัญอย่าง ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง น้ำตาลขยายตัวสูง 23 Ministry of Commerce

24 โครงสร้างการนำเข้า นำเข้ารวม -12.4 -11.0 100 เชื้อเพลิง -40.7 -37.0
สินค้านำเข้า มกราคม 2559 ปี 2558 (%YoY) (%AoA) %Share นำเข้ารวม -12.4 -11.0 100 เชื้อเพลิง -40.7 -37.0 15.0 ทุน 0.9 -4.8 28.6 วัตถุดิบ/กึ่งสำเร็จรูป -15.3 -6.3 38.9 อุปโภค/บริโภค -4.6 0.6 11.4 ยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง -1.5 5.7 6.1 24 Ministry of Commerce

25 ภาพรวมการค้าชายแดน การค้าชายแดน มกราคม 2559 มูลค่ารวม 86,193 1.05
หน่วย : ล้านบาท การค้าชายแดน มกราคม 2559 มูลค่า มูลค่ารวม 86,193 1.05 การส่งออก 49,389 3.51 การนำเข้า 36,804 -2.07 ดุลการค้า 12,584 % 59/58 ค้าชายแดน % หมายถึงอัตราการเปลี่ยนแปลง Ministry of Commerce

26 ภาพรวมการค้าผ่านแดน ค้าผ่านแดน การค้าผ่านแดน มกราคม 2559 มูลค่ารวม
หน่วย : ล้านบาท การค้าผ่านแดน มกราคม 2559 มูลค่า มูลค่ารวม 15,273 12.85 การส่งออก 7,203 19.13 การนำเข้า 8,070 7.78 ดุลการค้า -867 % 58/57 ค้าผ่านแดน % หมายถึงอัตราการเปลี่ยนแปลง Ministry of Commerce

27 มูลค่ารวมการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดน
หน่วย : ล้านบาท การค้าชายแดนและ การค้าผ่านแดนรวม มกราคม 2559 มูลค่า Growth(%) มูลค่ารวม 101,466 2.67 การส่งออก 56,591 5.27 การนำเข้า 44,875 -0.43 ดุลการค้า 11,716 ชายแดน+ผ่านแดน Ministry of Commerce

28 แนวทางการขับเคลื่อนการส่งออกของกระทรวงพาณิชย์
ขยายการค้ากับ CLMV ส่งเสริมการค้าชายแดน เพื่อขยายโอกาสทางการค้า และผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของภูมิภาค ในการเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก เร่งรัดขยายตลาดเชิงรุก บุกเมืองศักยภาพ กำหนดกลยุทธ์เชิงลึกลงถึงในระดับเมือง (city focus) มุ่งเน้นการเจาะตลาดใหม่ๆ การเจาะกลุ่มตลาดเฉพาะ (niche market) และช่องทางการค้าออนไลน์ ส่งเสริมการค้าบริการ (Trade in Services) เพื่อเป็นจักรกลใหม่ (New Engine) ในการขับเคลื่อนการค้า โดยได้กำหนดกลุ่มธุรกิจเป้าหมาย 6 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ Wellness/Entertainment/Logistics/Education/Hospitalities/Professional Services ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยไปดำเนินธุรกิจในต่างประเทศ เพื่อขยายโอกาสทางการค้าการลงทุน และสร้างความสามารถทางการแข่งขันของธุรกิจ ผลักดันและแก้ปัญหาทางการค้าร่วมกับเอกชน คณะกรรมการพัฒนาการค้าระหว่างประเทศ (พกค.) ร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ทางการค้าของไทย Ministry of Commerce

29 พัฒนาการภาคการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทย
มูลค่าส่งออกสินค้าและบริการของไทย (mUS$) การส่งออกสินค้าและบริการ (Index 2548=100) ส่งออกไทยโดยรวมหดตัว การค้าบริการเติบโตขึ้น ส่วนแบ่งตลาดหลักของไทย (%) อัตราส่วนของส่งออกบริการต่อส่งออกสินค้า (%) การค้าบริการคิดเป็น ¼ ของการส่งออกสินค้า ตลาด CLMV, จีน. อินเดีย มีส่วนแบ่งตลาดสูงขึ้นในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา

30 การค้าบริการระหว่างประเทศของประเทศต่างๆ
สัดสวนการส่งออกบริการต่อการส่งออกสินค้า (%) ประเทศพัฒนาแล้วมีทิศทางของการส่งออกบริการสูง 30-60% ของการค้าส่งออกสินค้า ที่มา: วิเคราะห์โดยกระทรวงพาณิชย์ จากข้อมูล Global Trade จาก TradeMap

31 ที่มา: วิเคราะห์โดยกระทรวงพาณิชย์ จากข้อมูล WDI
เงินลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ (FDI) มายังอาเซียน [net inflows (BoP,US$)] FDI มาอินโดนีเซียและเวียดนามมีแนวโน้มสูงขึ้นในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ในขณะที่ FDI มาไทยมีความผันผวนและมีแนวโน้มลดน้อยลง ที่มา: วิเคราะห์โดยกระทรวงพาณิชย์ จากข้อมูล WDI

32 High-technology exports (% of manufactured exports)
สัดส่วนส่งออกสินค้าเทคโนโลยีสูงของไทยลดลง ในขณะที่เวียดนามพุ่งสูงขึ้น ที่มา: วิเคราะห์โดยกระทรวงพาณิชย์ จากข้อมูล WDI หมายเหตุ: High-technology exports are products with high R&D intensity, such as in aerospace, computers, pharmaceuticals, scientific instruments, and electrical machinery.

33 การลงทุนระหว่างประเทศของประเทศไทย
FDI และ ODI สะสมของไทย (mUS$) FDI และ ODI ของไทย (Index 2549=100) FDI สะสมค่อนข้างหยุดนิ่ง Outward เติบโตมากขึ้นแทน นักลงทุนหลักในประเทศไทย (%) เป้าหมายการลงทุนต่างประเทศของไทย (%)

34 GNP/GDP ไทยมีแนวโน้มลดลง
สัดส่วน Gross National Product (GNP) ต่อ Gross Domestic Product (GDP) ในรอบ 40 ปีของการพัฒนา GNP = GDP + มูลค่าผลผลิตโดยบริษัทไทยในต่างประเทศ - มูลค่าผลผลิตโดยบริษัทต่างชาติในประเทศไทย สิงคโปร์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ 102.5% 100.1% 98.3% ไทย มาเลเซีย ไต้หวัน 103.1% 96.5% GNP/GDP ไทยมีแนวโน้มลดลง 95.7% ที่มา: Federal Reserve Bank of St. Louis

35 การลงทุนของไทยในเวียดนาม ลาว และกัมพูชาสวนใหญอยูในภาคอุตสาหกรรม การคาส่งและปลีก และเหมืองแรและย่อยหิน การลงทุนของไทยในเวียดนามและลาวมี ความหลากหลายของสาขามาก สวนในพม่ามีการกระจุกตัวมากในการคาสงและปลีกถึงร้อยละ 60 รองลงมาคือเหมืองแร่และย่อยหิน อุตสาหกรรม และการเงินและธุรกิจประกันภัย

36 ภาคอุตสาหกรรมลดการพึ่งพารายได้จากการส่งออกลง แต่เพิ่มการพึ่งพารายได้จากการลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น
ทุกกลุ่มอุตสาหกรรมมีสัดส่วนรายได้จากส่วนงานในต่างประเทศต่อรายได้รวมสูงขึ้น

37 ภาคอุตสาหกรรมลดการพึ่งพารายได้จากการส่งออกลง แต่เพิ่มการพึ่งพารายได้จากการลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น
สัดส่วนรายได้จากการส่งออกต่อรายได้รวมของบริษัทจดทะเบียนในหลายอุตสาหกรรมลดลง โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมที่พึ่งพารายได้จากการส่งออกสูงกว่า 50% ของรายได้รวม

38 สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า
สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์ 38 Ministry of Commerce


ดาวน์โหลด ppt การแถลงข่าวการค้าระหว่างประเทศของไทย เดือนมกราคม 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google