ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJoão Guilherme Márcio Anjos ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
มุมมองการนำระบบข้อมูลไปใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานลดอันตรายจากการใช้ยา นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
2
ประเด็นที่ควรคำนึงถึง
1.ด้านนโยบาย 2.ด้านบุคลากร 3.ด้านระบบบริการ 4.ด้านการบริหารจัดการ
3
ประเด็นที่ควรคำนึงถึง
1.ด้านนโยบาย นโยบาย/ข้อสั่งการด้านการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด นโยบาย/มาตรการด้านการส่งเสริมป้องกันควบคุมโรคHIV/AIDS
4
คำสั่งศพส. 7 กพ.2557
5
เหตุผลและความจำเป็นในมาตรการลดอันตราย
จากการใช้ยาเสพติด เพื่อให้ผู้ที่ใช้ยาเสพติดที่ยังเลิกไม่ได้ ได้รับการดูแล โดยการป้องกันไม่ให้เสี่ยงต่อการติดและแพร่กระจายเชื้อ ต่อตนเองและผู้อื่นโดยได้รับบริการจนสามารถเลิกใช้ยา สามารถกลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้ตามปกติ
6
พื้นที่ดำเนินการตามมาตรการ Harm Reduction ปี 2557-2558
19 จังหวัด ได้แก่ 1) กทม. 2) ปทุมธานี 3) สมุทรปราการ 4) นนทบุรี 5) เชียงใหม่ 6) เชียงราย 7) แม่ฮ่องสอน 8) ลำปาง 9) พะเยา 10) ตาก 11) นครศรีธรรมราช 12) สุราษฎร์ธานี 13) สตูล 14) พัทลุง 15) สงขลา 16) ตรัง 17) ยะลา 18) ปัตตานี 19) นราธิวาส
7
UNAIDS“Getting to Zero”
“สู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์” 1.ไม่มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ 2. ไม่มีการเสียชีวิตเนื่องจากโรคเอดส์ 3.ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ เป้าหมาย 5 ปี คือ ตั้งแต่ปี ค.ศ
8
ประเด็นที่ควรคำนึงถึง
2.ด้านบุคลากร ขอบเขตความรับผิดชอบ ของงานยาเสพติด และงานเอดส์ ซึ่งส่วนใหญ่ผู้รับผิดชอบจำเป็นต้องแบ่งส่วน การใช้ข้อมูลระบบติดตามจึงต้องมีความชัดเจนเรื่องผู้ดูแล กำกับติดตาม ภาระงาน ปัจจุบันมีการรายงานโรคเฉพาะตามนโยบาย หลากหลายระบบรายงาน อาทิงานยาเสพติดต้องรายงานระบบ บสต ,รายงานในฐานข้อมูลโรงพยาบาล งานเอดส์ต้องมีการรายงานและเฝ้าระวังตามระบบรายงานโรค ทัศนคติต่อผู้ใช้ยา ปรับทัศนคติต่อผู้ใช้ยา สร้างความรู้ความเข้าใจ - ไม่ตีตรา องค์ความรู้ด้านการลดอันตราย – มีองค์ความรู้หลายส่วน
9
ประเด็นที่ควรคำนึงถึง
3.ด้านระบบบริการ ความเชื่อมโยงจากการนำข้อมูลไปใช้ ภายในหน่วยงาน อาทิ การส่งต่อ ส่งตรวจ จากแต่ละแผนกที่เกี่ยวข้อง การสะท้อนข้อมูลกลับจากส่วนกลาง และการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในระดับจังหวัด เขตบริการ ประเทศ แบบ 2-way
10
สถานบริการสุขภาพNGO เป็นจุดเชื่อมต่อเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดให้เข้าสู่ระบบ HARM REDUCTION สามารถใช้ข้อมูลจากระบบ และส่งต่อระบบสู่สถานบริการสาธารณสุขได้ดี
11
ประเด็นที่ควรคำนึงถึง
4.ด้านการบริหารจัดการ ด้านเทคนิกการใช้โปรแกรม การรายงาน การกำกับ นโยบายของหัวหน้าหน่วยงานในการสนับสนุน ทรัพยากร
12
ตัวอย่างโปรแกรม
14
ตัวอย่างการสรุปประมวลผล
รายงาน ครบถ้วน เป็นเชิงปริมาณมากไป น่าจะลงไปในเชิงคุณภาพ
15
โดยสรุป มีการทำงานที่แยกส่วน บางส่วนมีการซ้ำซ้อนในข้อมูล
โปรแกรมรายงานเป็นโปรแกรมที่มีประโยชน์ บ่งบอกข้อสรุปสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน หากมีการลงข้อมูลครบถ้วน กำกับ ดูแล ติดตามอย่างต่อเนื่อง สถานพยาบาลที่เหมาะสมที่สุดในการรายงานที่สมบรณ์คือสถานพยาบาลที่ให้การรักษาทั้งโรคติดยาและอันตรายทางกายและจิตที่เกี่ยวข้อง ในความหมายคือ one stop service : รพ. ใกล้บ้านที่มี การดูแลแบบองค์รวม
16
โดยสรุป องค์ความรู้ด้านการบำบัดยาเสพติด/harm reduction ควรเสริมให้กับผู้ปฏิบัติงานฝ่ายกาย ในขณะเดียวกันองค์ความรู้ด้านฝ่ายกายโดยเฉพาะอันตรายทางกายที่เกิดจากการฉีดควรเสริมให้กับผู้ปฏิบัติงานการบำบัดยาเสพติด/harm reduction ผู้บริหารมีหน้าที่ตัดสินใจหากจำเป็นต้องมีการเก็บข้อมูล โดยมอบให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ดำเนินการ โดยให้การสนับสนุนทางองค์ความรู้ ทรัพยากร มีข้อมูลสะท้อนกลับจากส่วนกลาง และนำไปใช้ขับเคลื่อนนโยบาย
17
THANK YOU FOR ATTENION
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.