ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยDoddy Santoso ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ
การกำหนดวัตถุประสงค์ของแบบทดสอบ การจัดทำตารางโครงสร้างแบบทดสอบ (Test Blueprint หรือ Test Specification) ทบทวนจุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Learning Objective / Learning Out come) เขียนข้อสอบ (Item Writing) (โดยเขียนข้อสอบให้วัดได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ Objective-based) ทบทวน ตรวจทานความถูกต้อง เหมาะสมของข้อสอบ (Review) และปรับปรุงข้อสอบ
3
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ (ต่อ)
จัดเรียง / จัดชุด แบบทดสอบ จัดพิมพ์ / อัดสำเนา และ เย็บชุด/เล่ม แบบทดสอบ แล้วบรรจุ ซอง / กล่อง แบบทดสอบ เพื่อส่งไปยังสนามสอบ ดำเนินการสอบ ตรวจคำตอบเพื่อให้คะแนนผลการสอบ นำผลการสอบของนักศึกษามาทำการวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบรายข้อ (ค่า p, ค่า r) และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ (K-R 20) เก็บข้อสอบที่ดีๆ ไว้ในคลังข้อสอบ (Item Bank) และปรับปรุงข้อสอบที่ยังไม่เข้าเกณฑ์ข้อสอบที่ดี เก็บไว้เพื่อนำไปใช้ในโอกาสต่อไป
4
การกำหนดวัตถุประสงค์ของแบบทดสอบ รายวิชา .................................................
เพื่อวัดความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและความสามารถด้านพุทธิพิสัย ของนักศึกษา ใน รายวิชา จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว บ่งชี้ว่าแบบทดสอบที่สร้างขึ้น เป็นแบบทดสอบปลายภาค (Final Test) ที่วัดประเมิน เพื่อสรุปผลการเรียน หรือ เพื่อประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เพื่อนำคะแนนผลการสอบ ไปรวมกับคะแนนระหว่างภาค เพื่อตัดสินผลการเรียน ในรายวิชาดังกล่าว ลักษณะของแบบทดสอบ ครอบคลุมหัวข้อเนื้อหา / จุดประสงค์การเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ที่สำคัญๆ วัดครอบคลุมความสามารถ (ด้านพุทธิพิสัย) ที่ซับซ้อน หรือ ความคิดระดับสูง เป็นแบบ MCQ
5
การจัดทำตารางโครงสร้างแบบทดสอบ (Test Specification) (ตาราง 2 ทางที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างหัวข้อเนื้อหาวิชาและความสามารถด้านพุทธิพิสัย) หัวข้อเนื้อหา จำนวน ความจำ ความเข้าใจ การประยุกต์ การวิเคราะห์ ประเมินค่า คิดสร้างสรรค์ รวม คาบ Rem Und App Ana Eva Cre 1………… 2………… 3………… 4………… 5………… 6………… 7………… 8………… 9………… 10………… รวม 5 10 15 20 100
6
ตารางโครงสร้างแบบทดสอบปลายภาค วิชา 230 303 การวัดและประเมินผลการศึกษา
หัวข้อเนื้อหา จำนวน คาบ ความจำ Rem ความเข้าใจ Und การประยุกต์ App การวิเคราะห์ Ana ประเมินค่า Eva คิดสร้างสรรค์ Cre รวม 1. พัฒนาการของการวัดและ ประเมินผลการศึกษา 2 3 6 2. การวัดและประเมินผล การศึกษาในกระบวนการเรียนรู้ 3. จุดมุ่งหมายของการศึกษาและ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 4. การวางแผนการวัดและประเมินผล รายวิชา 5. เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัด และประเมินผลรายวิชา 4 6. การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย 18 7. หลักและเทคนิคในการวัดด้าน จิตพิสัยและทักษะพิสัย 12 8. สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวัดและ 9. คุณลักษณะของเครื่องมือวัดที่ดี 10. การวิเคราะห์ข้อสอบและตรวจ สอบคุณภาพของแบบทดสอบ 11. คะแนนและการให้ระดับผล การเรียน 30 19 29 10 8 90
7
กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้/ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่จะนำไปออกข้อสอบ
หัวข้อเนื้อหา ความสามารถด้านพุทธิพิสัย น้ำหนัก ความสำคัญ จุดประสงค์ การเรียนรู้ จำนวน ข้อสอบ
8
กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้/ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่จะนำไปออกข้อสอบ
หัวข้อเนื้อหา ความสามารถ ด้านพุทธิพิสัย น้ำหนัก ความสำคัญ จุดประสงค์ การเรียนรู้ จำนวน ข้อสอบ 6. การสร้าง เครื่องมือวัด ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ความจำ 2 บอกขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ด้านพุทธิพิสัยได้ 2 (MC) ความเข้าใจ ยกตัวอย่างข้อสอบที่ดีและข้อสอบที่ ไม่ดีตามเกณฑ์การสร้างข้อสอบ แต่ละชนิดได้ ประยุกต์ใช้ บอกวิธีปฏิบัติในสถานการณ์จริงที่ต้องสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย วิเคราะห์ 4 ระบุจุดเด่น และ/หรือ จุดบกพร่อง ของข้อสอบที่กำหนดให้ได้ 4 (MC) ประเมินค่า วิจารณ์ข้อสอบที่กำหนดให้โดยใช้เกณฑ์คุณลักษณะของข้อสอบที่ดี 1 (E) คิดสร้างสรรค์ เขียนข้อสอบที่วัดความสามารถด้านพุทธิพิสัยระดับต่างๆ เมื่อกำหนดเนื้อหาวิชาให้
9
แบบเขียนข้อสอบ การเขียนข้อสอบ
รายวิชา ชั้นปีที่ หัวข้อเนื้อหา ระดับความสามารถ จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ประเด็นเนื้อหาวิชา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ที่นำมาออกข้อสอบ ข้อสอบ เฉลยคำตอบ
10
แบบเขียนข้อสอบ การเขียนข้อสอบ
รายวิชา ชั้นปีที่ หัวข้อเนื้อหา การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย ระดับความสามารถ วิเคราะห์ การเขียนข้อสอบ แบบเขียนข้อสอบ จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ระบุจุดเด่น และ/หรือ จุดบกพร่องของข้อสอบที่กำหนดให้ได้ ประเด็นเนื้อหาวิชา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ที่นำมาออกข้อสอบ คำแนะนำในการสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ 1) ตอนนำ (stem) ของข้อสอบอาจจะใช้เป็น “คำถาม” หรือ “ประโยค” ที่ไม่สมบูรณ์ ก็ได้ แต่ต้องได้ใจความชัดเจน 2) ตัวเลือกทุกข้อต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ “ตอนนำ” 3) ตัวลวงทุกตัวมีความเป็นไปได้ และน่าจะถูกเลือกโดยผู้เรียนที่เรียนอ่อน ข้อสอบ จงพิจารณาข้อสอบต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 1-2 จังหวัดเชียงใหม่ ก. เป็นที่ราบเชิงเขา ข. อากาศหนาวเย็น ค. ปลูกลำไยมาก ง. ประชาชนมีความงามทั้งกายและใจ 1. ข้อสอบมีจุดบกพร่องในเรื่องใด เด่นชัดที่สุด ? (1) ประเด็นที่ถามไม่ชัดเจน (2) ตัวถูก ไม่ได้ถูกต้องตามหลักวิชา (3) ตัวเลือก บางข้อ ไม่สอดคล้องกับ “ตอนนำ” (4) “ตอนนำ” เป็นประโยคที่ไม่สมบูรณ์ เฉลยคำตอบ (1)
11
เวลาสำหรับการซักถาม และร่วม อภิปราย
จบการ นำเสนอ เวลาสำหรับการซักถาม และร่วม อภิปราย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.