งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562
โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา

2 ระดับความสำเร็จของจังหวัดในการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน(EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ร้อยละ 90 ของจังหวัด (6 จาก 7 จังหวัด) ผู้บริหารและหัวหน้ากลุ่มภารกิจผ่านการอบรม (ICS สำหรับผู้บริหาร) (จำนวน 9 ชม.) วันที่ 9-10 ม.ค.62) (SAT) จังหวัด เฝ้าระวังตรวจจับ และประเมินสถานการณ์ในพื้นที่ได้ เตรียมความพร้อม ของทรัพยากรเพื่อ รองรับการเปิด EOC ระดับจังหวัด จัดทำรายชื่ออัตรากำลังคน (Surge capacity plan) ของหน่วยงานในระดับจังหวัด นำระบบ ICS มาใช้จริงอย่างน้อย 1 ครั้ง/ซ้อมแผน ตามแผนเผชิญเหตุ

3 เอกสารหลักฐานที่ใช้ประกอบการตรวจราชการ
ขั้น 1 รายชื่อผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่ม SAT Operation ที่เข้าอบรมจากกรมควบคุมโรค ขั้น 2 ตารางการปฏิบัติงานทีม SAT , SAT Weekly report ทุกสัปดาห์ Spot Report, รายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงสำคัญ อย่างน้อย 2 ฉบับ ขั้น 3 รายการทรัพยากรที่สำคัญ จำเป็นที่จะต้องใช้เพื่อรับมือโรคและภัยสุขภาพสำคัญ ขั้น 4 รายชื่ออัตรากำลังคน (Surge capacity plan) ของหน่วยงานในระดับจังหวัด 4 ระดับ ขั้น 5 Incident Action Plan (IAP) ของเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข หรือมีรายงานการฝึกซ้อมแผน กรณีมีการ Activate EOC ต้องส่ง Weekly Report ให้ สคร. จนกว่าจะ Deactivate EOC

4 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(≤ ร้อยละ 2
อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(≤ ร้อยละ 2.05) และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ ตรวจระดับน้ำตาลซ้ำ (≥ร้อยละ 90) อัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน(≥ร้อยละ 30) สถานการณ์เขต 12 - การคัดกรอง DM/HT ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2559 – 2561 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ผลงานปี 2561 DM = ร้อยละ 89.67/HT = ร้อยละ (ภาพประเทศ DM = ร้อยละ 85.78/HT = ร้อยละ 86.99) -อัตราการตรวจระดับน้ำตาลซ้ำในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ผลงานปี 2561 = ร้อยละ (ภาพประเทศ = ร้อยละ 94.78) -อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง ปี 2559 – 2560 ลดลง และเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในปี 2561 และมีผลงาน = ร้อยละ 1.63 (ภาพประเทศ แนวโน้มเช่นเดียวกับภาพเขต ผลงานปี 2561 = ร้อยละ 1.99) -กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ผลงานปี 2561 = ร้อยละ (ภาพประเทศ = ร้อยละ 26.81) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.เร่งรัดการคัดกรอง DM/HT ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป 2.มีข้อมูลกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในปีที่ผ่านมาและปัจจัยเสี่ยง 3.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานปีที่ผ่านมาได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยงและตรวจระดับน้ำตาลซ้ำ≥ร้อยละ 30 1.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานปีที่ผ่านมาได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยงและตรวจระดับน้ำตาลซ้ำ ≥ ร้อยละ 50 1.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานปีที่ผ่านมาได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยงและตรวจระดับน้ำตาลซ้ำ ≥ ร้อยละ 70 1.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานปีที่ผ่านมาได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยงและตรวจระดับน้ำตาลซ้ำ ≥ร้อยละ 90 2.อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงปีที่ ผ่านมา ≤ ร้อยละ 2.05 2.อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ 10 2.อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ได้รับการวัดความดันโลหิต ที่บ้าน ≥ร้อยละ 20 -อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ 30

5 จำนวนกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยเบาหวานปี 2561 และเป้าหมาย ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ปี 2562
จำนวน(คน)

6 ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงควบคุมได้ (DM≥ร้อยละ 40, HT≥ร้อยละ 50)
สถานการณ์เขต 12 - อัตราผู้ป่วย DM และ HT ที่ควบคุมได้มีแนวโน้มดีขึ้น ปี 2561 DM = ร้อยละ HT = ร้อยละ (ภาพประเทศ DM = ร้อยละ 26.91/ HT = ร้อยละ 41.74) - สถานบริการสุขภาพจำนวน 78 แห่ง ผ่านเกณฑ์ NCD Clinic Plus ระดับดีขึ้นไป จำนวน 48 รพ. (ร้อยละ 61.54) (ต่ำกว่าระดับพื้นฐาน 12 รพ., ระดับพื้นฐาน 18 รพ., ระดับดี 20 รพ., ระดับดีมาก 28 รพ.) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน NCD Clinic Plus 1.มีแผนดำเนินงานและติดตามการพัฒนาคุณภาพ NCD Clinic Plus 2.ชี้แจงและถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงาน 1.รายงานผลประเมินตนเองของ รพ. ตามเกณฑ์การประเมิน NCD Clinic Plus 1.สรุปผลการประเมินรพ. ตามเกณฑ์การประเมิน NCD Clinic Plus ระดับเขต 1.รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2.รพ.ทุกแห่งเข้ารับการประเมิน 3.รพ.ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดีขึ้นไป ≥ร้อยละ 60 การดุแลผู้ป่วย DM/HT 1.ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและ ตัวชี้วัดปี 2562 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข 3.สนับสนุนเครื่องมือ งบประมาณให้พื้นที่ 1.ขยายผลการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในพื้นที่ 2.ดำเนินงานการจัดบริการตามรูปแบบการบริการป้องกันควบคุม DM/HT 3.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 1.วิเคราะห์ผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน แนวทางแก้ไข และเร่งรัดการดำเนินงาน 1.ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ ≥ร้อยละ 40 2.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ≥ร้อยละ 50

7 ตัวชี้วัด มาตรการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ปี 2562
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (เป้าหมาย > ร้อยละ 85) Service Excellence แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคติดต่อ เขตสุขภาพที่ 12 สงขลา หน่วยงานหลัก: กรมควบคุมโรค หน่วยงานร่วม: กรมการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กองบริหารการสาธารณสุข

8 การควบคุมป้องกันวัณโรค
หน่วยงานหลัก: กรมควบคุมโรค หน่วยงานร่วม: กรมการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กองบริหารการสาธารณสุข Service Excellence แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) การควบคุมป้องกันวัณโรค เป้าหมาย/ตัวชี้วัด อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (เป้าหมาย > ร้อยละ 85) สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน Situation : ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ที่ขึ้นทะเบียนรักษา ไตรมาสที่ 1/2561 เขตสุขภาพที่ 12 จำนวน 921 ราย (ณ 10 ต.ค. 61) ผลการรักษาสำเร็จร้อยละ 84.9, อัตราการเสียชีวิตร้อยละ 8.1, อัตราขาดยาร้อยละ 3.3, อัตราโอนออกร้อยละ 1.1 และกำลังรักษาร้อยละ 1.2 ยุทธศาสตร์/ มาตการ มาตรการที่ 1 ลดการเสียชีวิต มาตรการที่ 2 ลดการขาดยา มาตรการที่ 3 พัฒนาคุณภาพและระบบการกำกับติดตามดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค กิจกรรมหลัก - เร่งรัดการตรวจคัดกรองวินิจฉัยและขึ้นทะเบียนรักษาทุกราย - ตรวจทดสอบความไวต่อยา (DST) เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา - ทบทวนเพื่อหาสาเหตุการเสียชีวิต - เฝ้าระวัง ดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา - มีผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่กำลังรักษารายบุคคล - ทบทวนวิเคราะห์สาเหตุการขาดยา - ดูแลผู้ป่วยใกล้ชิด มีผู้รับผิดชอบทำDOT - ช่วยเหลือทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ - กำกับ ติดตาม และประเมินผลการรักษาผู้ป่วย วัณโรค (Monitoring and evaluation) ใช้ระบบข้อมูลที่มีคุณภาพในการกำกับติดตามผู้ป่วยวัณโรค - พัฒนาเครือข่าย ใช้โปรแกรม TBCM online เพื่อการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง ระดับความ สำเร็จ ไตรมาส 1 (3 เดือน) ไตรมาส 2 (6 เดือน) ไตรมาส 3 (9 เดือน) ไตรมาส 4 (12 เดือน) 1. Situation analysis : วิเคราะห์สถานการณ์ ขนาดความรุนแรงของปัญหา กลุ่มเสี่ยง พื้นที่เป้าหมายช่องว่างและปัญหาอุปสรรค 2. Planning จัดทำแผนงานเพื่อลดการเสียชีวิต ขาดยา และพัฒนาระบบการส่งต่อและติดตามผลการรักษา Monitoring : กำกับและติดตามการดำเนินงานมาตรการตามแผนงาน - ร้อยละความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ > ร้อยละ 82.5 - อัตราการเสียชีวิต < ร้อยละ 5 และอัตราการขาดยาและอัตราโอนออกของผู้ป่วยวัณโรค เท่ากับ 0 - อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอด รายใหม่ > ร้อยละ 85 - ร้อยละความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (TB Treatment Coverage) > ร้อยละ 82.5

9 monitoring and supervision
PA 2562 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (> ร้อยละ 85) จัดตั้งกลไกการกำกับการกินยาและติดตามรักษาอย่างต่อเนื่อง บริหารจัดการและ ตรวจทดสอบความไวต่อยา (DST) เพื่อค้นหา RR/MDR-TB กำกับติดตามและประเมินผลการรักษาด้วยระบบข้อมูล TBCM online จัดตั้งcase management team ในโรงพยาบาลครบทุกจังหวัด ทุกเขตสุขภาพมีการตั้ง คกก.ผชช.วัณโรคดื้อยาระดับเขต >ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเสี่ยง ดื้อยาสูง (ผู้ป่วยเก่าที่เคยรักษาวัณโรคมาก่อน) ได้ตรวจ DST > ร้อยละ 50 ของ รพ.นอกสังกัด สธ. (รัฐและเอกชน) บันทึกและรายงานข้อมูลโปรแกรม TBCM online

10 อบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google