งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
โดย นายศรณรงค์ นิลสาริกา พคป.ชำนาญการพิเศษ ศาลปกครอง

2 กระบวนการยุติธรรม ทางอาญา ทางแพ่ง ทางปกครอง การสืบสวนสอบสวน
การฟ้องและการต่อสู้คดี การฟ้องและการต่อสู้คดี ผู้ต้องหา พนง.สอบสวน/สนง.ตำรวจ ทนายความ คู่กรณี ( ประชาชน / หน่วยงานของรัฐ ) คู่ความ ทนายความ/สภาทนายความ อัยการ การสั่งฟ้อง อัยการ/สำนักงานอัยการ การพิจารณาพิพากษาคดี การพิจารณาพิพากษาคดี การพิจารณาพิพากษาคดี ศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม ศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม ศาลปกครอง สำนักงานศาลปกครอง การบังคับคดี การบังคับคดี การบังคับคดี กรมราชทัณฑ์ กรมคุมประพฤติ สถานพินิจและคุ้มครองเด็ก และ เยาวชนกลาง / กระทรวงยุติธรรม การบังคับคดี / กระทรวงยุติธรรม สำนักงานศาลปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ 2 2

3 หลัก Justice must not only be done, but it must seem to be done
พิจารณาโดยเปิดเผย ฟังความทุกฝ่าย เปิดโอกาสให้โต้แย้ง แสดงเหตุผลอย่าง Convincing ประกอบคำวินิจฉัย ไม่พิจารณาคดีเกินคำขอ และต้องไม่น้อยกว่าคำขอ ไม่พิจารณาเรื่องที่ตนมีส่วนได้เสีย (No one can judge his our case) สำนักวิจัยและวิชาการ 3

4 สำนักวิจัยและวิชาการ
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารฯ ความเป็นมา ยกร่างกฎหมาย รัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน ๒๓ ก.ค. ๒๕๔๐ สภาผู้แทนฯ มีมติเห็นชอบ ๑๐ ก.ย. ๒๕๔๐ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ๙ ธ.ค. ๒๕๔๐ มีผลบังคับใช้ ความเป็นมา สำนักวิจัยและวิชาการ

5 เหตุผลในการตรากฎหมายวิ.ปฏิบัติ
กำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนต่างๆ สำหรับการดำเนินงานทางปกครอง ให้การดำเนินงานเป็นไปโดยถูกต้อง มีประสิทธิภาพ ในการบังคับใช้กฎหมาย สามารถรักษาประโยชน์สาธารณะได้ อำนวยความเป็นธรรม ป้องกันการทุจริต สำนักวิจัยและวิชาการ

6 สำนักวิจัยและวิชาการ
บททั่วไป ความเป็นกฎหมายกลาง : วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายต่าง ๆ ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. นี้ กรณีที่กฎหมายนี้ไม่นำไปใช้บังคับ ๙ กรณี สำนักวิจัยและวิชาการ

7 ละเมิดทางแพ่ง ตาม มาตรา ๔๒๐ ปพพ.
ผู้ใดกระทำการใด โดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมาย ให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใด ผู้ทำละเมิดต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน สำนักวิจัยและวิชาการ

8 เหตุผลแห่งกฎหมายข้อมูลข่าวสาร
ให้ประชาชนมีสิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารฯ กำหนดข้อยกเว้นในการเปิดเผยให้ชัดเจน คุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล สำนักวิจัยและวิชาการ

9 เหตุผลในการตรากฎหมายความรับผิดทางละเมิด
เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของตนเอง เมื่อเกิดความเสียหาย นำ ปพพ.มาใช้บังคับ ไม่เหมาะสม บางกรณีเจ้าหน้าที่อาจกระทำโดยไม่ตั้งใจ หรือผิดพลาดเล็กน้อย หลักลูกหนี้ร่วม ทำให้ต้องรับผิดในการกระทำของเจ้าหน้าที่อื่นด้วย เจ้าหน้าที่ไม่กล้าตัดสินใจเพราะเกรงต้องรับผิด บั่นทอนขวัญกำลังใจ มีวิธีการบริหารงานบุคคลและวินัยควบคุมอยู่ ทำให้มีความรอบคอบ กฎหมายนี้ มุ่งคุ้มครองเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสุจริต และใช้ความระมัดระวังตามสมควร สำนักวิจัยและวิชาการ

10 แนวคิดของ พรบ.ข้อมูลข่าวสารฯ
รัฐรู้อะไร ประชาชนรู้อย่างนั้น หน่วยงานของรัฐ ประชาชน  เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น  สิทธิที่จะรู้ และรู้ที่จะใช้สิทธิ สำนักวิจัยและวิชาการ

11 สำนักวิจัยและวิชาการ
แนวคิดหลัก รัฐรู้อะไร ประชาชนรู้อย่างนั้น เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น สำนักวิจัยและวิชาการ

12 สำนักวิจัยและวิชาการ
คำสำคัญ ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลข่าวสารของราชการ หน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล บุคคล สำนักวิจัยและวิชาการ

13 หน้าที่ของหน่วยงานของรัฐและสิทธิของประชาชน
ส่งข้อมูลลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา จัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดู จัดหาไว้ให้ประชาชนเป็นการเฉพาะราย แนะนำแหล่งที่เก็บข้อมูล อาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูล ขอคำปรึกษา ตรวจดูข้อมูล ขอข้อมูลข่าวสารอื่นใดของราชการ ได้รู้ถึงข้อมูลส่วนบุคคลของตน ดำเนินการแทนผู้เยาว์ ร้องเรียน อุทธรณ์ สำนักวิจัยและวิชาการ

14 ประเภทของข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลข่าวสารที่ต้องเปิดเผยเป็นการทั่วไป ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารของราชการที่เปิดเผยไม่ได้ ได้แก่ ข้อมูลที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่สถาบันพระมหากษัตริย์ ข้อมูลที่หน่วยงานของรัฐอาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผย เช่น ข้อมูลที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศเป็นอันตรายต่อชีวิต/ความปลอดภัยของบุคคล ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา หน่วยงานจัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดู เอกสารประวัติศาสตร์ สำนักวิจัยและวิชาการ

15 ประโยชน์ของ พรบ. ข้อมูลข่าวสารฯ
ประชาชน มีส่วนร่วมทางการเมืองได้โดยตรง แสดงความคิดเห็นและสะท้อนความต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงาน โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีภาพลักษณ์ที่ดี การทำงานมีประสิทธิภาพ สังคม ค่านิยม และวิถีปฏิบัติทางสังคม ส่งเสริมความคิดพื้นฐานของสังคมประชาธิปไตย สำนักวิจัยและวิชาการ

16 ลักษณะข้อมูลข่าวสารของราชการ
๑. ข้อมูลข่าวสารที่ต้องเปิดเผย (มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ มาตรา ๒๖) ๒. ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย /อาจไม่เปิดเผยก็ได้ (มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕) ๓. ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล (มาตรา ๔ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔) สำนักวิจัยและวิชาการ

17 ประเด็นการพิจารณาเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการแก่ประชาชน
๑. เป็นคำขอตาม พรบ.ข้อมูลข่าวสารฯ หรือไม่ (มาตรา ๓) ๒. ผู้รับคำขอเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายหรือไม่ (มาตรา ๔) ๓. ข้อมูลที่ขอเป็นข้อมูลของทางราชการหรือไม่ (มาตรา ๔ / มาตรา ๑๑ วรรคสาม) ๔. ข้อมูลข่าวสารที่ขออยู่ในความดูแลของผู้รับคำขอหรือไม่ (มาตรา ๑๒) สำนักวิจัยและวิชาการ

18 สำนักวิจัยและวิชาการ
๕. ผู้ขอข้อมูลข่าวสารเป็นคนต่างด้าวหรือไม่ (มาตรา ๔/ มาตรา ๙ วรรค ๔/ มาตรา ๑๑ วรรค ๕/ มาตรา ๒๑) ๖. ข้อมูลข่าวสารที่ขอเป็นข้อมูลข่าวสารที่หน่วยงานของรัฐมีหน้าที่รักษาเป็นความลับหรือไม่ (ป.อาญา หรือกฎหมายเฉพาะ มาตรา ๑๕) ๗. คำสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารจะต้องระบุอะไรบ้าง (มาตรา ๑๕ วรรคสอง ประเภท/ เหตุผล/ มาตรา ๔๐ พรบ.วิธีปฏิบัติราชการฯ ระยะเวลาโต้แย้ง) ๘. การพิจารณาคำร้องขอข้อมูลข่าวสารจะต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นใช้เวลานานเท่าใด (มาตรา ๑๓ วรรคสอง) ๓๐ วัน สำนักวิจัยและวิชาการ

19 สำนักวิจัยและวิชาการ
ขั้นตอนการให้บริการ ขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นดำเนินการ ปรับปรุงระบบจัดเก็บข้อมูล เตรียมบุคลากร สถานที่ จำแนกข้อมูลข่าวสารฯ ส่งข้อมูลข่าวสารฯ ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา ๗) จัดข้อมูลข่าวสารของราชการให้ประชาชนเข้าตรวจดู (มาตรา ๙) จัดหาข้อมูลข่าวสารให้แก่ประชาชนตามคำขอ (มาตรา ๑๑) - สัญชาติผู้ขอ - ลักษณะของคำขอข้อมูลฯ - ความพร้อมของข้อมูลฯ - จำนวนครั้งที่ขอ - ข้อมูลข่าวสารอยู่ในความ - ระยะเวลาจัดหาข้อมูลฯ ควบคุมของหน่วยงาน - ผู้มีอำนาจใช้ดุลพินิจ - ระยะเวลาการเสนอคำคัดค้าน - การใช้ดุลพินิจในการไม่ให้ ข้อมูลข่าวสารตามคำขอ การจัดเก็บข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล การส่งมอบข้อมูลข่าวสารที่ไม่ประสงค์จะเก็บรักษา สำนักวิจัยและวิชาการ

20 สำนักวิจัยและวิชาการ
ขั้นตอนการให้บริการ ๑. ข้อมูลข่าวสารอยู่ในความครอบครองของหน่วยงานหรือไม่ ๒. เป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใด ๓. เป็นข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผยได้หรือไม่ ๔. ค้นหาข้อมูลได้จากที่ไหน ๕. การให้คำแนะนำอื่น ๆ สำนักวิจัยและวิชาการ

21 หลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจ
๑. กระบวนการก่อนออกคำสั่ง ๒. หลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจ ๓. การออกคำสั่ง และการคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐ สำนักวิจัยและวิชาการ

22 กระบวนการก่อนออกคำสั่ง
คำสั่งทางปกครอง ต้องให้คู่กรณีได้ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ มีโอกาสโต้แย้ง (วิปกครอง ม.๓๐) กระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด ต้องให้โอกาสคัดค้าน (มาตรา ๑๗) กรณีข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ต้องได้รับความยินยอม (มาตรา ๒๔) สำนักวิจัยและวิชาการ

23 หลักเกณฑ์ในการใช้ดุลพินิจ
อำนาจในการใช้ดุลพินิจ ไม่ใช่สิทธิเสรีภาพที่เจ้าหน้าที่จะตัดสินใจว่าจะใช้ดุลพินิจหรือไม่ แต่อำนาจดุลพินิจ เป็นหน้าที่ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องตัดสินใจอย่างอิสระ (อำนาจผูกพัน/อำนาจดุลพินิจ) ต้องใช้ดุลพินิจอย่างเสมอภาค/วินิจฉัย,ตัดสินใจ การใช้ดุลพินิจไม่ใช่เป็นเรื่องใช้อำนาจตามอำเภอใจ แต่ต้องใช้อย่างมีเหตุผล สำนักวิจัยและวิชาการ

24 แนวทางในการควบคุมการใช้ดุลพินิจ
๑. หลักแห่งความเหมาะสม ๒. หลักแห่งความจำเป็น ๓. หลักแห่งความได้สัดส่วน สำนักวิจัยและวิชาการ

25 ขั้นตอนการใช้ดุลพินิจ
๑. พิจารณาถึงผลดี ผลเสีย ผลกระทบ ๒. ชั่งน้ำหนักผลดีกับผลเสีย ผลกระทบ ๓. ตัดสินใจเปิดเผยหรือไม่เปิดเผย สำนักวิจัยและวิชาการ

26 ปัญหาที่เกิดจากการใช้สิทธิเพื่อเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ
๑. ไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารฯ ๒. ไม่จัดข้อมูลข่าวสารฯให้ตรวจดู ๓. ไม่จัดหาข้อมูลข่าวสารฯให้ตามที่ขอ ๔. อ้างว่าไม่มีข้อมูลข่าวสารฯ ๕. ปฏิบัติงานล่าช้า ๖. ผู้ขอไม่ได้รับความสะดวกโดยไม่มีเหตุอันสมควร ๗. ฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตาม พรบ.ข้อมูลข่าวสารฯ ร้องเรียน ๘. มีคำสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารฯ ๙. มีคำสั่งไม่ฟังคำคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารฯ ๑๐. มีคำสั่งไม่เปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือลบข้อมูลข่าวสารฯ อุทธรณ์ สำนักวิจัยและวิชาการ

27 วิธีการเขียนคำขอข้อมูลข่าวสารของราชการ
๑. รายละเอียดเกี่ยวกับตัวผู้ขอข้อมูล ๑.๑ ชื่อ ที่อยู่ สถานที่ติดต่อ หมายเลขโทรศัพท์ (ถ้ามี) ๑.๒ วันที่ที่ยื่นคำขอ ๒. รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลที่ขอ ๒.๑ ชื่อ รายละเอียดของข้อมูล ๒.๒ ระบุวิธีการที่ต้องการได้ข้อมูล - ต้องการดู - ต้องการสำเนา - ต้องการสำเนาที่มีการรับรองความถูกต้อง ๒.๓ ระบุเหตุผลที่ขอข้อมูล (กฎหมายบัญญัติไว้ว่าไม่ต้องระบุเหตุผลในการขอ) สำนักวิจัยและวิชาการ

28 สำนักวิจัยและวิชาการ
ขั้นตอนการร้องเรียน พิจารณาว่าพฤติการณ์หรือการปฏิบัติของหน่วยงานของรัฐมีลักษณะดังต่อไปนี้หรือไม่ (๑) ไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารลงในราชกิจจานุเบกษา (๒) ไม่จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนตรวจดู (๓) ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายนี้ (๔) ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า (๕) ปฏิเสธว่าไม่มีข้อมูลตามที่ขอ (๖) ไม่อำนวยความสะดวก ยื่นหนังสือร้องเรียน รอฟังผลการพิจารณา สำนักวิจัยและวิชาการ

29 ข้อความที่ควรระบุในหนังสือร้องเรียน
๑. ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ร้องเรียน ๒. รายละเอียดของหน่วยงาน ๓. เอกสารประกอบ สำนักวิจัยและวิชาการ

30 ข้อแนะนำในการเขียนหนังสือร้องเรียน
๑. ใช้ถ้อยคำสุภาพ ๒. ระบุรายละเอียดข้อเท็จจริงให้ชัดเจน ๓. ไม่ใช้คำเสียดสี ดูหมิ่น พาดพิง ๔. ขอคำแนะนำจาก สขร. สำนักวิจัยและวิชาการ

31 สำนักวิจัยและวิชาการ
การอุทธรณ์ อุทธรณ์ได้ ๓ กรณี ยื่นคำขอแล้วหน่วยงานไม่เปิดเผย (มาตรา ๑๘) เจ้าหน้าที่ไม่รับฟังคำคัดค้านนี้ (มาตรา ๑๗ วรรคสาม) หน่วยงานรัฐไม่แก้ไขตามคำขอ (มาตรา ๒๕ วรรคสี่) ขั้นตอนการอุทธรณ์ ๑. พิจารณาว่าหน่วยงานของรัฐมีพฤติการณ์ ดังนี้หรือไม่ - มีคำสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลตามที่ขอ - ไม่รับฟังคำคัดค้าน - ไม่แก้ไขข้อมูลตามที่ขอ ๒. ยื่นหนังสืออุทธรณ์ต่อ สขร. ๓. รอฟังผลภายใน ๖๐ วัน สำนักวิจัยและวิชาการ

32 แผนผังแสดงขั้นตอนการอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์
๑. พิจารณาว่าพฤติการณ์ของหน่วยงานของรัฐเป็นการปฏิเสธ ไม่เปิดเผยข้อมูล (มาตรา ๑๘) ไม่ฟังคำคัดค้าน (มาตรา ๑๗) ไม่แก้ไขหรือลบข้อมูล (มาตรา ๒๕) ๒. ยื่นหนังสืออุทธรณ์ต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ (ภายใน ๑๕ วัน) ๓. รอฟังผลการพิจารณาขอคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสาร (ภายใน ๖๐ วัน) ๔. หากไม่พอใจผลการพิจารณาหรือไม่ทราบผล ภายใน ๖๐ วัน ก็ไม่สามารถใช้สิทธิฟ้องร้องต่อศาลปกครองได้ สำนักวิจัยและวิชาการ

33 ข้อความที่ควรระบุในหนังสืออุทธรณ์
๑. ข้อมูลเกี่ยวกับผู้อุทธรณ์ ๒. ระบุรายละเอียดของหน่วยงาน ๓. เอกสารประกอบ สำนักวิจัยและวิชาการ

34 สำนักวิจัยและวิชาการ
7 คดีปกครอง ความหมาย “คดีปกครอง” หมายถึง ข้อพิพาทระหว่างหน่วยงาน ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐฝ่ายหนึ่งกับเอกชนอีกฝ่ายหนึ่ง หรือระหว่างหน่วยงาน ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน อันเนื่องมาจากการใช้อำนาจตามกฎหมายหรือการดำเนินกิจการทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ

35 สำนักวิจัยและวิชาการ
ลักษณะคดีปกครอง 1 คู่กรณี หน่วยงานทางปกครอง/เจ้าหน้าที่ของรัฐ กับเอกชน หรือ หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกันเอง 7 2 ลักษณะข้อพิพาท การใช้อำนาจตามกฎหมายของหน่วยงาน ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ เช่น การออกกฎ /คำสั่ง /การกระทำอื่นโดยไม่ชอบ การดำเนินกิจการทางปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ

36 สำนักวิจัยและวิชาการ
คำสั่งทางปกครอง 7 1.คำสั่งทางปกครองโดยเนื้อหา มีลักษณะ 4 ประการ ต้องเป็นการใช้อำนาจสั่งการฝ่ายเดียวตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ต้องเป็นการใช้อำนาจในทางปกครอง ต้องมีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าเป็นการชั่วคราว/ถาวร ต้องมีผลเป็นการเฉพาะเรื่องเฉพาะราย เช่น คำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคารฯ ที่ให้รื้อถอนอาคารที่ก่อสร้างรุกล้ำที่สาธารณะ ฯลฯ สำนักวิจัยและวิชาการ

37 สำนักวิจัยและวิชาการ
กฎ 7 บทบัญญัติที่มีผลบังคับเป็นการทั่วไปไม่มุ่งหมายให้บังคับแก่ “กรณีใดหรือบุคคลใด” เป็นการเฉพาะ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ คำว่า “มีผลบังคับเป็นการทั่วไป” ไม่ได้หมายความว่าจะต้องมี ผลบังคับแก่ประชาชนทุกคน แม้จะมีผลบังคับแก่เฉพาะประชาชนบางประเภทก็เป็นกฎที่มีผลบังคับเป็นการทั่วไป สำนักวิจัยและวิชาการ

38 คดีที่อยู่ในอำนาจศาลปกครองชั้นต้น
7 กระทำการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ละเลย/ล่าช้า ละเมิดทางปกครอง / ความรับผิดอย่างอื่น สัญญาทางปกครอง กฎหมายกำหนดให้หน่วยงานทางปกครอง/ เจ้าหน้าที่ของรัฐฟ้องเพื่อบังคับบุคคลให้กระทำการ/ละเว้นการกระทำ กฎหมายกำหนดให้อยู่ในอำนาจของศาล ปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ

39 คดีที่ไม่อยู่ในอำนาจของศาลปกครอง
การดำเนินการเกี่ยวกับวินัยทหาร (ภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กัก ขัง จำขัง) การดำเนินการของ ก.ต. คดีที่อยู่ในอำนาจของศาลอื่น ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ศาลล้มละลาย ศาลชำนัญพิเศษอื่น 7 สำนักวิจัยและวิชาการ

40 1.1 ผู้เสียหาย (ม.42 วรรคหนึ่ง)
1.ผู้มีสิทธิฟ้องคดี 7 1.1 ผู้เสียหาย (ม.42 วรรคหนึ่ง) ได้รับความเดือดร้อน/เสียหาย หรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายเนื่องจากการกระทำหรืองดเว้นการกระทำของหน่วยงานทางปกครอง/เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือ มีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง หรือ กรณีอื่นใดที่อยู่ในเขตอำนาจศาลปกครองตาม ม.9 และการแก้ไขความเดือดร้อนต้องมีคำบังคับตาม ม. 72 สำนักวิจัยและวิชาการ

41 2. ต้องได้ดำเนินการ “เยียวยาภายในฝ่ายปกครอง”(ม. 42 วรรคสอง)
กฎหมายกำหนดขั้นตอน/วิธีการสำหรับการ แก้ไขความเดือดร้อนเสียหายในเรื่องใดไว้โดยเฉพาะ ต้องดำเนินการตามขั้นตอนและวิธีการดังกล่าว และ มีการสั่งการ/ มิได้มีการสั่งการภายในเวลาอันสมควร หรือภายในเวลาที่กฎหมายนั้นกำหนด 7 สำนักวิจัยและวิชาการ

42 3. ต้องยื่นฟ้องภายในระยะเวลา การฟ้องคดี (ม. 49 ,51 และ 52)
3. ต้องยื่นฟ้องภายในระยะเวลา การฟ้องคดี (ม. 49 ,51 และ 52) 3.1 คดีปกครองทั่วไป (ม.49) คดีตาม ม. 9 วรรคหนึ่ง (1) และ (2) ต้องฟ้องภายใน 90 วัน นับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี หรือ นับแต่วันที่พ้น 90 วัน นับแต่วันที่ผู้ฟ้องคดีได้มีหนังสือร้องขอต่อหน่วยงานฯ 7 สำนักวิจัยและวิชาการ

43 สำนักวิจัยและวิชาการ
3.2 คดีละเมิดทางปกครอง/ความรับผิดอย่างอื่น และสัญญาทางปกครอง (ม. 51) 7 คดีละเมิดทางปกครอง/ความรับผิดอย่างอื่น (ม.9 วรรคหนึ่ง (3)) ต้องฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี แต่ไม่เกิน 10 ปี นับแต่วันที่มีเหตุแห่งการฟ้องคดี คดีสัญญาทางปกครอง (ม.9 วรรคหนึ่ง (4)) ต้องฟ้องภายใน 5 ปี นับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี แต่ไม่เกิน 10 ปี นับแต่วันที่มีเหตุแห่งการฟ้องคดี สำนักวิจัยและวิชาการ

44 สำนักวิจัยและวิชาการ
7 3.3 คดีเกี่ยวกับคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ หรือสถานะของบุคคล จะฟ้องเมื่อใดก็ได้ (ม.52 วรรคหนึ่ง) “สถานะของบุคคล” หมายถึง สถานะตามกฎหมายของบุคคลและสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองที่เกี่ยวเนื่องกับการเป็นบุคคล ตามที่กฎหมายกำหนดไว้เช่น การโต้แย้งเกี่ยวกับสัญชาติของบุคคล (อ.39/2547) /สถานะในครอบครัว ฯลฯ สำนักวิจัยและวิชาการ

45 วิธีพิจารณาคดีปกครอง
ขอบเขต ศาลปกครองคืออะไร ศาลปกครอง โครงสร้าง เอกสาร วิธีอื่น อำนาจศาล ชั้นตรวจรับคำฟ้อง ชั้นแสวงหาข้อเท็จจริง เงื่อนไข ตุลาการผู้แถลงคดี วิธีพิจารณาคดีปกครอง ชั้นนั่งพิจารณาคดี นั่งพิจารณาคดี ชั้นพิพากษา/คำสั่ง ชั้นบังคับคดี การอุทธรณ์ อ่านคำพิพากษา หนี้เงิน หนี้กระทำการ การมีผลของคำพิพากษา สำนักวิจัยและวิชาการ

46 สำนักวิจัยและวิชาการ


ดาวน์โหลด ppt พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google