งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์
และ PA เขตสุขภาพที่ 10 29 สิงหาคม 2561 ณ โรงแรมกรีนเนอรี่ รีสอร์ท จังหวัดนครราชสีมา นพ.จักราวุธ จุฑาสงฆ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร ประธาน CPIO เขตสุขภาพที่ 10

2 กรอบการนำเสนอ ภูมิหลัง การขับเคลื่อนงาน
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดเขตสุขภาพที่ 10 ปี 61 ผลการดำเนินงาน เขต 10 PA 61 ภาคผนวก

3 ภูมิหลังการดำเนินงาน
ทบทวนร่างยุทธศาสตร์ 21 ก.ค. 2560 พิจารณาให้ความเห็นชอบต่อยุทธศาสตร์ 8-9 ส.ค. 2560 ประกาศใช้ แผนยุทธศาสตร์ฯ( ) ทำ MOU 28 ธันวาคม 2560 - Mega trend - SDG - Thailand 4.0 - MOPH 4.0 ยกร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ 61-64 10 เม.ย.2560 - สุขภาวะคนเขต 10 - ระบบสุขภาพเขต 10

4 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 10 ( ) มุกศรีโสธรเจริญราชธานี วิสัย ทัศน์ เขตสุขภาพชั้นนำ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 10 ( ) พันธกิจ พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระบบบริการสุขภาพ ระบบกำลังคนด้านสุขภาพ ระบบบริหารจัดการด้วยหลัก ธรรมาภิบาลที่เป็นเลิศ และส่งเสริมการมีส่วนร่วม พัฒนาภาคีเครือข่ายในการจัดระบบสุขภาพ เป้า ประสงค์ ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ PP&P , Service , HRO , OG , PAR ค่านิยมร่วม MOPH วัฒนธรรมองค์กร สร้างความรู้นำบริการ สร้างธรรมมาภิบาลนำการจัดการ

5 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ

6 ตามยุทธศาสตร์เขตสุขภาพที่ 10 ปี 2561-2564 แยกตามเป้าประสงค์ ปี 2561
ผลการดำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์เขตสุขภาพที่ 10 ปี แยกตามเป้าประสงค์ ปี 2561 ข้อมูล 1 ตุลาคม 2560 – 20 สิงหาคม 2561 ทั้งหมด 88 ตัวชี้วัด

7 ต่อ G1 : ระบบส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ
ประชาชนสุขภาพดี และพึ่งตนเองได้ 30 ตัวชี้วัด PP&P Excellence แผนงานโครงการ เขตสุขภาพที่ 10 เน้นหนัก ปี 2561 สอดคล้องกับแผนงานโครงการระดับกระทรวง (15 แผนงน 45 โครงการ) 1)SMART MCH Board เขต 10 - Ranking MCH Board ระดับเขต (กำหนดเกณฑ์เพื่อปิด Gap MCH) 2) เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบการดูแลแม่และเด็ก - จัดหาถุงตวงเลือด - เยี่ยมเสริมพลัง - SMART MCH Meeting & Coaching 3.โครงการสร้างเด็กเขต 10 สู่เด็กไทย 4.0 -Start Up Kids to Grow R พัฒนา อปท.ต้นแบบแก้ไขการขาดไอโอดีน - ลปรร.ศูนย์เด็กเล็กตามรอยพระยุคลบาท + EF อบรมเสริมศักยภาพพ่อแม่ผู้ปกครอง(PPA) - M&E “Smart Kids R10” อบรมเชาวน์เล็ก เด็กอนุบาล 2 4.โครงการพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน 1.รณรงค์สร้างการแส Start Up : 5S 5H To Smart Aging 4.0 2.ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้การเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุทางสื่อทุกช่องทาง 3.อบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสำหรับวิทยากร ครู ก 4.ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน 5.ประเมินรับรองเพื่อพัฒนาตำบลส่งเสริมสุขภาพและดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ระดับดีเด่น ระดับเขต 5.โครงการเร่งรัดการค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย -การคัดกรองวัณโรคในเรือนจำ -ค้นหาวัณโรคโดย CXR ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ 15 อำเภอเน้นหนัก -รณรงค์เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ -พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัดและอำเภอ และเรือนจำ -ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่าย MOU -พัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วย MDR-TB -ประเมินผลสำเร็จของการดำเนินงาน (TBCM online / TB Meeting สสจ.และเขต) 6.โครงการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) 1. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น 3. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยท่างาน 4. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยผู้สูงอายุ แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 6.โครงการพัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพ 7.โครงการควบคุมโรคติดต่อ 8.โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อและภัยสุขภาพ แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 17.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด แผนงานที่ 8 : การพัฒนาตามโครงการพระราชดาริและพื้นที่เฉพาะ 32.โครงการเฉลิมพระเกียรติ ร. ๑๐ (TB) แผนงานที่ 13 : การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ 42.โครงการลดความเหลื่อมล้่าของ 3 กองทุน ต่อ

8 ต่อ ตัวชี้วัด G1 : ระบบส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ
ประชาชนสุขภาพดี และพึ่งตนเองได้ 30 ตัวชี้วัด PP&P Excellence ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดาหาร 1.ร้อยละสถานบริการสุขภาพที่มีการคลอดมาตรฐาน (ร้อยละ 60) * 100 2.ร้อยละของโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก (ร้อยละ 100) NA 3.อัตราส่วนการตายมารดาไทย (ไม่เกิน 20/แสนการเกิดมีชีพ) * 12.05 9.23 70.32 4.อัตราตายทารกแรกเกิด (ไม่เกิน 4 ต่อพันเด็กแรกเกิดมีชีพ) * 3.68 5.76 3.61 1.57 0.96 1.93 5. เด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (ไม่เกินร้อยละ 7) 6. เด็ก (9,18,30,42 เดือน) ได้รับการคัดกรองพบพัฒนาการสงสัยล่าช้าไม่ต่ำกว่าร้อยละ20 22.64 25.75 22.93 15.00 22.49 15.99 7.เด็ก (9,18,30,42เดือน) ที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามประเมินซ้ำไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 81.85 83.86 83.62 71.62 81.80 68.50 8.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี(ร้อยละ 54) * 52.33 51.90 54.09 48.21 56.01 49.43 9.ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน (ร้อยละ 68) * 67.47 66.23 68.79 63.27 73.89 67.05 10.เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100 เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตาม กระตุ้นพัฒนาการและดูแลต่อเนื่องด้วยเครื่องมือมาตรฐาน ≥ ร้อยละ 60 * 62.12 - 29.35 33.62 77.50 11.ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป (ร้อยละ 70) * 83.95 90.52 95.31 74.92 70 12.ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) (ร้อยละ 52) * 85.36 87.65 82.05 84.50 86.43 87.69 13.อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี (ไม่เกิน 40 ต่อพัน) 17.13 12.33 21.28 16.19 19.16 24.74 14.ร้อยละของประชาชนวัยทำงาน มีค่าดัชนีมวลกายปกติ (ร้อยละ 55) * 52.28 52.38 47.39 50.64 65 54.95 15.ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 60) * 88.48 96.8 60.68 85.22 ต่อ

9 G1 : ระบบส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ
ประชาชนสุขภาพดี และพึ่งตนเองได้ 30 ตัวชี้วัด PP&P Excellence ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร 16.ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ (60%) NA 17.ร้อยละของ Healthy Ageing (ร้อยละ 85) * 69.11 76.76 60.04 100 18.ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ )SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (ร้อยละ 80) * 19. อัตราป่วยโรคเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ไม่เกินร้อยละ 2.4) * 1.74 1.69 1.55 2.03 2.46 2.28 20.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองเบาหวานเข้าจอประสาทตา (60 %) 21.อัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงสูง (ไม่เกินร้อยละ 5) * 22.ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ร้อยละ 70) 23.อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (ร้อยละ 85) * 94.01 95.18 94.40 91.27 95.39 91.43 24. ร้อยละอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (ลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง) 25.ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก (ร้อยละ 87) * 50.68 41.10 88.29 87.45 38.87 39.87 26.ร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี (ร้อยละ 80) * 90 68.42 33.34 27.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (ไม่เกิน 16/แสนประชากร) * 9.18 2.13 19.83 0.02 28.ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (ร้อยละ 95.5) * 29.ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป (ร้อยละ 18) * 30.ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป (ลิตรของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์/คน/ปี) (6.81 ลิตรของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์/คน/ปี) * 30 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ 16 ตัวชี้วัด ,ไม่ผ่าน 5 ตัวชี้วัด ,ไม่มีข้อมูล(NA) 9 ตัวชี้วัด

10 G2 : หน่วยงานสาธารณสุขได้รับการรับรองมาตรฐาน
7 ตัวชี้วัด Service Excellence แผนงานโครงการ เขตสุขภาพที่ 10 เน้นหนัก ปี 2561 สอดคล้องกับ แผนงานโครงการระดับกระทรวง (45 โครงการ) 1.โครงการการขับเคลื่อนและการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน HA สำหรับสถานบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 10 2.โครงการขับเคลื่อนและการพัฒนา PMQA สำหรับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ เขตสุขภาพที่ 10 3.การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว - พัฒนาผู้เยี่ยมประเมินระดับ จังหวัด/เขต -พัฒนาศักยภาพ ผอ.รพ.สต. -พัฒนาศักยภาพพยาบาล IC ใน รพ.สต. -เยี่ยมเสริมพลังและประเมิน รพ.สต.ติดดาว -เวทีแลกเปลี่ยนปฐมภูมิระดับเขต แผนงานที่ 11 : การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ 39.โครงการพัฒนาองค์กรคุณภาพ

11 G2 : หน่วยงานสาธารณสุขได้รับการรับรองมาตรฐาน
7 ตัวชี้วัด Service Excellence ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร 31.ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขสู่เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ร้อยละ 20) * 100 57.98 28 33.33 28.57 32.ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 80.65 72.73 80.95 87.59 33.ร้อยละของโรงพยาบาลชุมชนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพที่กำหนด (ร้อยละ 60) * NA 34.ร้อยละ รพ.สต. ในแต่ละอำเภอที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว (ร้อยละ 10) * 29.15 31.55 30.85 30.58 25.97 51.28 35.ร้อยละของห้องปฏิบัติการของหน่วยบริการทุกระดับผ่านคุณภาพและมาตรฐานการบริการ (รพ.=ร้อยละ 100 (รพ.ใช้เกณฑ์สภาวิชาชีพ) , รพ.สต.=ร้อยละ 60(รพ.สต.ใช้เกณฑ์กระทรวง)) 36.ร้อยละของห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย ของโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพงานบริการรังสีวินิจฉัย (ร้อยละ 100) 37.ร้อยละของหน่วยบริการผ่านเกณฑ์การประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ 7 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ 3 ตัวชี้วัด ,ไม่ผ่าน - ตัวชี้วัด ,ไม่มีข้อมูล(NA) 4 ตัวชี้วัด

12 G3 :ระบบการบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ Excellence
2 ตัวชี้วัด Governance Excellence แผนงานโครงการ เขตสุขภาพที่ 10 เน้นหนัก ปี 2561 สอดคล้องกับ แผนงานโครงการระดับกระทรวง (45 โครงการ) 1.พัฒนาระบบการติดตามการซื้อร่วมรายเดือน 2.จัดทำราคาอ้างอิงให้ครอบคลุมทุกหมวดทั้งระดับเขตและระดับจังหวัด 3. 5 มาตรการขับเคลื่อนระบบการเงินการคลัง -ม.1 จัดสรรเงินอย่างพอเพียง -ม.2 ติดตามกำกับด้วย Planfin -ม.3 ปสภ.การบริหารจัดการ -ม.4 พัฒนาระบบบัญชี -ม.5 พัฒนาเครือข่ายและบุคลากร แผนงานที่ 13 : การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ 43.โครงการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร 38.ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม (ร้อยละ 20) * 28.02 22.51 33.69 36.70 41.21 24.85 39.ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน (ไม่เกินร้อยละ 8) * 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ 2 ตัวชี้วัด

13 G4 : ระบบคุ้มครองผู้บริโภคมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด PP&P Excellence แผนงานโครงการ เขตสุขภาพที่ 10 เน้นหนัก ปี 2561 สอดคล้องกับแผนงานโครงการระดับกระทรวง (45 โครงการ) 1. โครงการส่งเสริมและพัฒนาความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety) เขตสุขภาพที่ 10 2. โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ เขตสุขภาพที่ 10 3. โครงการส่งเสริมและพัฒนาโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยเกษตรอินทรีย์  เขตสุขภาพที่ 10 4. โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในอำเภอชายแดน(คบส.ชายแดน) เขตสุขภาพที่ 10 5. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ประกอบการและพนักงานเจ้าหน้าที่เรื่องน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทและน้ำแข็ง เขตสุขภาพที่ 10   6.โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพในวิทยุกระจายเสียง เขต ๑๐ 7.โครงการพัฒนาและแก้ไขผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์  เขตสุขภาพที่ ๑๐ แผนงานที่ 3 : การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 9.โครงการส่งเสริมและพัฒนาความปลอดภัยด้านอาหารปลอดภัย 10.โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดาหาร 40.ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย(80%)* 95.21 99.83 NA 98.7 99.69 89.96 41.ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 95) * 95.05 96 98.07 96.97 99.31 89.41 42.ร้อยละของสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด (สถานพยาบาลผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100 , สถานประกอบการผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 (เฉลี่ยร้อยละ 80) * 98.63 100 90.91 43.ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง (ร้อยละ 70) * 4 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ 3 ตัวชี้วัด ,ไม่มีข้อมูล(NA) 1 ตัวชี้วัด

14 ต่อ G5 : ระบบบริการทางการแพทย์ และ การแพทย์แผนไทยมีประสิทธิภาพ Service
Excellence แผนงานโครงการ เขตสุขภาพที่ 10 เน้นหนัก ปี 2561 สอดคล้องกับ แผนงานโครงการระดับกระทรวง (45 โครงการ) 1.คลินิกหมอครอบครัว(Primary Care Cluster) -ผลิต Fammed และอบรมแพทย์ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว -อบรมพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว หลักสูตร 2 เดือน(พยาบาลเวชต่อยอด) -ผลิต /สรรหา เจ้าพนักงานเภสัชกรรมชุมชนและทันตาภิบาล -ใช้โปรแกรม THAICOC เพื่อพัฒนาระบบงานเยี่ยมบ้านคุณภาพ 2.พัฒนาระบบบริการสุขภาพด้านส่งปรึกษาและส่งต่อ -พัฒนาระบบ Consulttation (OPD) ระบบIT เชื่อม Refer เขต10 -Referral casecade –NODE พัฒนาระบบ Bed Sharing ระดับเขต -Home Ward In LTC จัดทำ CPG Fast Track ระดีบเขต - Refer In /Out พัฒนาE-refer -Refer Back พัฒนาBed Sharing 3. One day Surgery - เผยแพร่ ความรู้ One day Surgery แก่ประชาชน - ส่งเสริม การให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่บุคลากร สาธารณสุข - พัฒนารูปแบบ การให้บริการ One day Surgery -พัฒนาแนวทาง การให้การดูแล -พัฒนาระบบ การดูแลต่อเนื่อง ในระดับเครือข่าย -พัฒนาศักยภาพและการตระหนักรู้ของ แพทย์ผู้ผ่าตัดและทีมที่เกี่ยวข้องภายในหน่วยงาน 4. RDU - ขับเคลื่อนการดำเนินงาน RDU ชุมชนมีความรู้เรื่องยา - smart school RDU ร้านชาต้นแบบปลอดยาอันตราย, ยาควบคุมพิเศษ - Walk rally เพื่อรณรงค์โครงการ RDU 5. โครงการเมืองสมุนไพร จังหวัดอำนาจเจริญ แผนงานที่ 5 : การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster 13. โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 14.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 15.โครงการป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 16.โครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ 18.โครงการพัฒนาระบบการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care) 19.โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยฯ 20.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช 21.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก 22.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก 23.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง 24.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต 25.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา 26.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ 27.โครงการพัฒนาระบบบริการบ่าบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติด 28.โครงการพัฒนาระบบบริการดูแลระยะกลาง (Intermediate Care) 29.โครงการพัฒนาระบบบริการ one day surgery 30.โครงการพัฒนาระบบบริการ Minimally Invasive Surgery แผนงานที่ 7 : การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ 31.โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ แผนงานที่ 9 : อุตสาหกรรมทางการแพทย์ครบวงจร 34.โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร ต่อ

15 G5 : ระบบบริการทางการแพทย์ และ การแพทย์แผนไทยมีประสิทธิภาพ
25 ตัวชี้วัด Service Excellence ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร 44.ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ (Primary Care Cluster) (ร้อยละ 11.72) * 43.13 30 60.11 100 35.29 45.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ (DM > 40% , HT > 50%) * 28.71 32.23 33.80 17.16 23.13 20.34 56.30 61.20 52.85 54.97 51.07 48.99 46.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) (มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 ) * 89.27 90.56 86.57 87.13 91.02 93.19 47.ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (ขั้นที่ 1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)* 96.15 98.59 48.ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบ ECS คุณภาพ (ร้อยละ 70) * 49.ร้อยละของ ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (ร้อยละ 25) * 50.ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง (ลดลงร้อยละ 10) * 57.97 54.17 31.17 25 - 50.97 51.ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care) (ร้อยละ 30) * 52.ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (> ร้อยละ 50) * 55.95 52.33 49.41 89.54 34.77 74.34 53.ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชที่ยุ่งยากซับซ้อนได้รับการดูแลตามมาตรฐาน NA 54.อัตราเข้าถึงบริการผู้ป่วย ADHD ร้อยละ 8 (อัตราเข้าถึงบริการผู้ป่วยจิตเวชเด็ก ) 55.อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (< 6.3 ต่อแสนประชากร) * 56.ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่มีข้อบ่งชี้ ได้รับยาละลายลิ่มเลือด ใน รพ. ตั้งแต่ F2 ขึ้นไป ร้อยละ 50 ต่อ

16 G5 : ระบบบริการทางการแพทย์ และ การแพทย์แผนไทยมีประสิทธิภาพ
25 ตัวชี้วัด Service Excellence ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร 57.ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาภายในระยะเวลาที่กำหนด (ร้อยละ 80) * 46.25 76.84 81.10 93.18 31.12 86.05 58.ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr (มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 65 ) * 57.34 57.83 57.01 56.45 57.75 51.28 59.ร้อยละของผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจก (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน (ร้อยละ 80) * 59.45 57.70 57.10 92.63 93.98 96.05 60.จำนวนการปลูกถ่ายไตสำเร็จ (จำนวน 650) * (ภาพรวมประเทศ) NA 61.อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (ไม่เกิน 130 ครั้งต่อแสนประชากร) * 62.ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิจัดบริการสุขภาพช่องปาก (ร้อยละ 50) * 63.ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา( 3 month remission rate) (ร้อยละ 92) * 98.80 99.03 100 67.17 94.77 64.ร้อยละของการผ่าตัดไส้ติ่ง ใน รพ.ระดับ M ร้อยละ 25 65.ร้อยละของการผ่าตัดคลอด ใน รพ.ระดับ M ร้อยละ 20 66.จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One day Surgery ใน รพ.ระดับ A และ S เพิ่มขึ้น 91.21 84.46 86.95 67.ร้อยละของสถานบริการแต่ละระดับ ตาม Service plan มีค่า CMI ผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนด ร้อยละ 20 68.ร้อยละของจังหวัดที่มีผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์มาตรฐาน Herbal City - 25 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ 11 ตัวชี้วัด ,ไม่ผ่าน 5 ตัวชี้วัด ,ไม่มีข้อมูล(NA) 9 ตัวชี้วัด

17 G6 : ภาคีเครือข่ายสุขภาพมีความเข้มแข็ง
3 ตัวชี้วัด Service Excellence แผนงานโครงการ เขตสุขภาพที่ 10 เน้นหนัก ปี 2561 สอดคล้องกับ แผนงานโครงการระดับกระทรวง (45 โครงการ) 1.โครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ่าเภอ (DHB) - MOU ระดับเขต ผู้บริหาร/ผู้ว่า/ท้องถิ่น/ท้องที่/ภาคประชาชน -พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ DHB -เยี่ยมเสริมพลังและประเมิน DHB โดยใช้กลไก UCCARE -สรุปบทเรียนอำเภอ DHB เวทีแลกเปลี่ยนDHB ระดับเขต แผนงานที่ 2 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 5. โครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ อ่าเภอ (DHB) ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร 69. ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ (50%) 94.29 100 55.56 70.ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) NA 71.ร้อยละของครอบครัวที่มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 50) * 3 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ 1 ตัวชี้วัด ,ไม่มีข้อมูล(NA) 2 ตัวชี้วัด

18 G7 : ระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง มีประสิทธิภาพ
1 ตัวชี้วัด Governance Excellence แผนงานโครงการ เขตสุขภาพที่ 10 เน้นหนัก ปี 2561 สอดคล้องกับ แผนงานโครงการระดับกระทรวง (45 โครงการ) 1. หา Best Practice และใช้ระบบพี่เลี้ยงในการผลักดันให้หน่วยงานอื่นเกิดการพัฒนาและขยายผล แผนงานที่ 11 : การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ 38.โครงการประเมินคุณธรรม ความโปร่งใส และบริหาร แผนงานที่ 15 : การปรับโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ 45.โครงการปรับโครงสร้างและพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร 72.ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA (ร้อยละ 90) * 100 1 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ 1 ตัวชี้วัด

19 G8 : บุคลากรเพียงพอ มีสมรรถนะ และมีความสุข 5 ตัวชี้วัด
People Excellence แผนงานโครงการ เขตสุขภาพที่ 10 เน้นหนัก ปี 2561 สอดคล้องกับแผนงานโครงการระดับกระทรวง (45 โครงการ) 1.โครงการจัดทำแผนกำลังคนด้านสุขภาพ - พัฒนาบุคลากรที่รับผิดชอบ HR มีความเข้าใจในการวางแผนกำลังคน ตามกรอบโครงสร้าง สป. 2.โครงการพัฒนา IT HR -พัฒนาบุคลากรที่รับผิดชอบ IT ให้จัดทำโปรแกรมเพื่อสนับสนุนข้อมูลด้านกำลังคน แผนความต้องการและแผนพัฒนากำลังคน เขตสุขภาพที่ 10 3.โครงการพัฒนากลุ่มบุคลากร ที่มีสมรรถนะสูง -ค้นหาและพัฒนาสนับสนุนบุคลากรที่มีสมรรถนะสูง ใน 6 สายงาน 4.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรมุ่งสู่องค์กรคุณธรรม เพื่อสนับสนุนค่านิยม MOPH -พัฒนาบุคลากรมุ่งสู่การประเมินองค์กรคุณธรรม 5.วิเคราะห์ HAPPINOMETER และ จัดทำแผนพัฒนาความสุข ให้กับบุคลากรในองค์กร 6.วิจัยการพัฒนารูปแบบคัดเลือกบุคลากร โดยใช้ค่านิยม MOPH ใช้เป็นเครื่องมือ 7.โครงการจัดทำคู่มือ CAREER PATH 38 สายงาน แผนงานที่ 10 : การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 35.โครงการผลิตและพัฒนาก่าลังคนด้านสุขภาพสู่ความเป็นมืออาชีพ 36.โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข 37.โครงการพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร 73.ระดับความสำเร็จในการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพของเขตสุขภาพ (มีการดำเนินการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพระดับเขตสุขภาพถึงระดับ 5) * NA 74.ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด(เฉลี่ยร้อยละ 80)* 75.ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ไปใช้ (ร้อยละ 50) * 100 76.อัตราการคงอยู่ของบุคลากรด้านสุขภาพ (Retention Rate) (85%) 98.05 97.57 97.37 97.07 98.35 99.91 77.ร้อยละของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ 5 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ 2 ตัวชี้วัด ,ไม่มีข้อมูล(NA) 3 ตัวชี้วัด

20 G9 : มีการพัฒนางานวิจัยและการจัดการความรู้ ด้านสุขภาพในองค์กร 1
ตัวชี้วัด Governance Excellence แผนงานโครงการ เขตสุขภาพที่ 10 เน้นหนัก ปี 2561 สอดคล้องกับ แผนงานโครงการระดับกระทรวง (45 โครงการ) 1.พัฒนาฐานข้อมูลในระบบออนไลน์ แผนงานที่ 14 : การพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรมด้านสุขภาพ 44.โครงการพัฒนางานวิจัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์ ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร 78.ร้อยละผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่ให้หน่วยงานต่างๆนำไปใช้ประโยชน์ (ร้อยละ 20) * NA 1 ตัวชี้วัด , ไม่มีข้อมูล(NA) 1 ตัวชี้วัด

21 G10 : ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีคุณภาพ 1 ตัวชี้วัด
Governance Excellence แผนงานโครงการ เขตสุขภาพที่ 10 เน้นหนัก ปี 2561 สอดคล้องกับแผนงานโครงการระดับกระทรวง (45 โครงการ) 1.สร้างระบบทวนสอบข้อมูลการระบุสาเหตุการตายทั้งในและนอกสถานพยาบาล 2.พัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการและผู้บันทึกข้อมูลข้อมูลเวชระเบียนและการวินิจฉัยโรค 3. เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบข้อมูลเวชระเบียนและการวินิจฉัยโรค แผนงานที่ 12 : การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 40.โครงการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสุขภาพแห่งชาติ (NHIS) 41.โครงการพัฒนาสุขภาพด้วยเศรษฐกิจดิจิทัล(Digital Economy) ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร 79.ร้อยละของจังหวัดและหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล (สาเหตุการตายไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 , คุณภาพข้อมูลไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) * NA 79.1.ร้อยละของจังหวัดและหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล (มีการให้รหัสการวินิจฉัยโรคสาเหตุการตายที่ไม่มีคุณภาพ : Ill Defined ไม่เกินร้อยละ 25) 79.2 ร้อยละของหน่วยบริการมีคุณภาพการให้รหัสการวินิจฉัยโรคในผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 1 ตัวชี้วัด , ไม่มีข้อมูล(NA) 1 ตัวชี้วัด

22 G11 : มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและเอื้อต่อการให้บริการสุขภาพ 5 ตัวชี้วัด
PP&P Excellence แผนงานโครงการ เขตสุขภาพที่ 10 เน้นหนัก ปี 2561 สอดคล้องกับแผนงานโครงการระดับกระทรวง (45 โครงการ) 1.โครงการ : พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมโรงพยาบาลตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital และ Food Safety 2.โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการและถอดบทเรียนเจ้าหน้าที่และ และ อปท. ตามเกณฑ์จังหวัดจัดการปัญหามลพิษจากสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง (Hot Zone) แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 11. โครงการ GREEN&CLEAN Hospital 12. โครงการคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง (Hot Zone) ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร 80.ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital (ร้อยละ 75 ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน) * 100 81.ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน (ร้อยละ 100 ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน) * 82.ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการ อาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 25) * 60 - 58.33 66.67 83.ร้อยละของเทศบาลทุกระดับมีระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน(EHA) (ร้อยละ 50) NA 84.คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ทุกจังหวัดดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ 4 ตัวชี้วัด ,ไม่มีข้อมูล(NA) 1 ตัวชี้วัด

23 G12 : มีระบบงานสาธารณสุขระหว่างประเทศ 4 ตัวชี้วัด
Service Excellence แผนงานโครงการ เขตสุขภาพที่ 10 เน้นหนัก ปี 2561 สอดคล้องกับ แผนงานโครงการระดับกระทรวง (45 โครงการ) 1.โครงการ.พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพและระบบส่งต่อระหว่างประเทศให้ได้มาตรฐานและเป็นมิตร 2.โครงการเพิ่มศักยภาพการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารปลอดภัย เขตสุขภาพที่ 10 แผนงานที่ 8 : การพัฒนาตามโครงการพระราชดาริและพื้นที่เฉพาะ 33.โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษและสุขภาพแรงงานข้ามชาติ (Migrant Health) ตัวชี้วัด เขต 10 อุบล ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร 85.จังหวัดชายแดนมีการดำเนินงานผ่านเกณฑ์มาตรฐาน IHR NA 86.จังหวัดและอำเภอชายแดนมีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานความร่วมมืออาเซียน 100 87.เขตและจังหวัดมีเครือข่ายระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อชายแดนและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ครอบคลุมสถานบริการทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ 88.สถานบริการสาธารณสุขในจังหวัดชายแดนมีการเตรียมความพร้อมด้านการรักษาพยาบาลและการส่งต่อระหว่างประเทศ 4 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ 1 ตัวชี้วัด ,ไม่มีข้อมูล(NA) 3 ตัวชี้วัด

24 สรุปผลการดำเนินงาน ปี 61 แยกตามเป้าประสงค์
ตามยุทธศาสตร์เขตสุขภาพที่ 10 ปี Goal เป้าประสงค์ จำนวน KPI ผ่าน เกณฑ์ % ไม่ผ่านเกณฑ์ ไม่มีข้อมูล (NA) 1 ระบบส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ ประชาชนสุขภาพดี และพึ่งตนเองได้ 30 16 53.33 5 16.67 9 2 หน่วยงานสาธารณสุขได้รับการรับรองมาตรฐาน 7 3 42.86 4 57.14 ระบบการบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ 100 ระบบคุ้มครองผู้บริโภคมีประสิทธิภาพ 75 25 ระบบบริการทางการแพทย์ และการแพทย์แผนไทยมีประสิทธิภาพ 11 44 20 36 6 ภาคีเครือข่ายสุขภาพมีความเข้มแข็ง 33.33 66.67 ระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพ 8 บุคลากรเพียงพอ มีสมรรถนะ และมีความสุข 40 60 มีการพัฒนางานวิจัยและการจัดการความรู้ด้านสุขภาพในองค์กร 10 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีคุณภาพ มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและเอื้อต่อการให้บริการสุขภาพ 80 12 มีระบบงานสาธารณสุขระหว่างประเทศ รวม 88 50 11.36 33 38.64

25 ตาม PA กระทรวงสาธารณสุข ปี 61 ข้อมูล 1 ตุลาคม 2560 – 20 สิงหาคม 2561
ผลการดำเนินงาน ตาม PA กระทรวงสาธารณสุข ปี 61 ข้อมูล 1 ตุลาคม 2560 – 20 สิงหาคม 2561 ทั้งหมด 15 ตัวชี้วัด

26 สรุปความก้าวหน้าการดำเนินการตามตัวชี้วัด PA
(1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) ตัวชี้วัด จำนวน ผ่าน % ไม่ผ่าน ตัวไม่ผ่าน PA 15 14 93.33 1 6.67 RDU

27  เขต พชอ.ต้นแบบ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่าย
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ 1 (เป้าหมาย : 1. มีการแต่งตั้ง คกก.พชอ.ทุกอำเภอ มี คกก.พชอ.ที่มีคุณภาพ 50%) ประเทศ เขต OFI พชอ.ต้นแบบ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่าย

28  OFI EOC.คุณภาพ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่าย 2
ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง 2 5 ขั้นตอน 1) พัฒนาผู้บัญชาการเหตุการณ์ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC)ระดับจังหวัด 2) จัดเตรียมการเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ และทีมปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับจังหวัด 3) จัดทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัดเพื่อเฝ้าระวัง ตรวจจับและประเมินสถานการณ์การเกิดโรคและภัยสุขภาพ 4) วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพระดับจังหวัด 5) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC)ระดับจังหวัด มีการซ้อมแผน หรือมีการยกระดับเปิดปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่ OFI EOC.คุณภาพ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่าย

29 ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561)
3 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital (เป้าหมาย : 1. ร้อยละ 20 ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก 2.โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ระดับดีมากอย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง) ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) ระดับุ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร เขต ประเทศ พื้น ฐาน 100% 99.06% ดี 72.41% 50% 77.77% 65.51% 53.7% ดีมาก 27.59% 8 แห่ง 18.18% 4 แห่ง 66.67% 6 แห่ง 28.57% 2 แห่ง 28.56% 27.02% 19.37% ประเทศ ระดับดีมาก จ.อุบลฯ : รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 10 , รพ.โขงเจียม , รพ.ตระการพืชผล , รพ.พิบูลมังสาหาร , รพ.โพธิ์ไทรย์ , รพ.ม่วงสามสิบ , รพ.สิรินธร , รพ.สรรพสิทธิประสงค์ จ.ศรีสะเกษ : รพ.ขุนหาญ,รพ.บึงบูรณ์,รพ.อุทุมพรพิสัย,รพ.ห้วยทับทัน จ.ยโสธร : รพ.มหาชนะชัย, รพ.ป่าติ้ว , รพร.เลิงนกทา ,รพ.ยโสธร,รพ.กุดชุม,รพ.ค้อวัง จ.อำนาจเจริญ : รพ.หัวตะพาน , รพ.อำนาจเจริญ จ.มุกดาหาร : รพ.มุกดาหาร,หนองสูง OFI พัฒนาระดับดีเป็นระดับดีมาก คุณภาพ/ความยั่งยืน ขยายผลสู่ รพ.สต.

30 ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561)
4 คลินิกหมอครอบครัวคุณภาพที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ (Primary Care Cluster) ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) ปี อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร เขต เป้า 38 22 16 17 10 103 ผลงาน 27 15 6 9 4 61 เขต ประเทศ OFI PCC. ต้นแบบระดับเขต/จังหวัด การเผยแพร่ผ่านระบบ Social

31 ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561)
ร้อยละของ รพ. ที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล RDU : ร้อยละของโรงพยาบาลมีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (AMR) ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) เกณฑ์ อุบลราช ธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร เขต ประเทศ RDU ขั้นที่ 1 96.15 100 98.59 90.72 RDU ขั้นที่ 2 7.69 2 แห่ง 4.55 1 แห่ง 28.57 6.75 7.05 AMR 75% 95 55.56 RDU ขั้นที่ 1 ไม่ผ่าน : รพ.สรรพสิทธิ์ฯ จ.อุบลฯ OFI RDU ขั้นที่ 2 ไม่ผ่าน : การใช้ ATB ใน รพ.และการใช้ยา Glibenclamide ในผู้สูงอายุและผู้ป่วยไตบกพร่อง ที่ผ่านเกณฑ์ จ.อุบล คือ รพ.โขงเจียม , จ.อำนาจเจริญ คือ รพ.ปทุมราชฯ และ รพ.พนา พัฒนาส่วนที่เป็นปัญหา RDU ขั้น2

32  OFI พัฒนาเครือข่าย รพ.พี่ช่วยน้อง
ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery 6 (เป้าหมาย : ร้อยละ 15) ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) 1. แต่งตั้งคณะกรรมการและที่ปรึกษา ได้แต่งตั้งทั้งในระดับ เขต และระดับโรงพยาบาล 2. จัดหาสถานที่ และผู้รับผิดชอบ ขึ้นอยู่กับบริบทของแต่ละโรงพยาบาล 3. ประชุมคณะกรรมการคัดเลือก ชนิดของโรคและหัตถการของแต่ละโรงพยาบาล 4. พัฒนาระบบให้บริการ ODS แนวใหม่ 5. จัดทำระบบ flow ขั้นตอนการให้บริการ และขั้นตอนแนวทางการปฎิบัติของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ตั้งแต่ผู้ป่วยก้าวเข้ามาใน รพ. จนกลับไปบ้านและการดูแลต่อเนื่อง 6. สร้างแนวทางประชุมคณะกรรมการระดับเขต และ รพ.ที่ประสงค์จะเข้าร่วมโครงการ ปฎิบัติในการดูแลผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อน กำลังดำเนินการเชื่อมไปยังสถานบริการชุมชนใกล้บ้าน 7. พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการบันทึกข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล ส่งต่อข้อมูล ให้หน่วยเรียกเก็บรายได้ หรือ e-claim และ ทีมีพยาบาล ทำหน้าที่ในการติดตาม ผู้ป่วยตั้งแต่ระยะก่อน และหลัง ผ่าตัดเมื่อผู้ป่วยกลับบ้านไป emergency call เป็นต้น ประเทศ อบ ศก ยส อจ มห เขต ประเทศ 88.46% 86.95% 100% 91.21% 0.00 OFI รพ.สรรพสิทธิ์ผ่านการประเมินจากคณะกรรมการกระทรวงฯและ สปสช.เมื่อ 2 ก.พ.61 ทำ ODS สำเร็จ ร้อยละ 65.38 พัฒนาเครือข่าย รพ.พี่ช่วยน้อง

33 ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค.2561)
อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (ทั้งที่ ER และ Admit) 7 (เป้าหมาย : น้อยกว่า ร้อยละ 12) ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค.2561) เกณฑ์ อุบลราช ธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร เขต ประเทศ ส่งข้อมูลแฟ้ม Accident 100 ประเมิน Hospital Safety Index 45.45 11.11 72.97 ผ่านเกณฑ์ ECS ER คุณภาพ อัตราการเสียชีวิต 1.51 1.12 0.02 0.61 2.57 1.47 0.00 ประเทศ OFI พัฒนา ER คุณภาพ

34  อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ประเทศ 8
(เป้าหมาย : ไม่น้อยกว่า 85 %) (1. ค้นให้พบ 2. จบด้วยหาย 3. ตายน้อยกว่าร้อยละ 5 และ4. ขาดยาเป็น 0) ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) OFI ดำเนินงานตามมาตรการอย่างเข้มข้น ค้นหาในกลุ่มเสี่ยงด้วย CXR ให้การรักษาผู้ป่วยตามมาตรฐาน ให้หายลดการเสียชีวิตและขาดยา ทุกจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๐ สามารถดำเนินการได้ตามเกณฑ์ ประเทศ จังหวัด กำลังรักษา รักษาสำเร็จ เสียชีวิต รักษาล้มเหลว ขาดยา โอนออก รวมผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียน (ราย) จำนวน (ราย) ร้อยละ อุบลราชธานี 38 11.41 255 76.58 23 6.91 4 1.20 8 2.40 5 2.38 333 ศรีสะเกษ 66 17.50 279 74.04 6.10 2 0.53 7 1.85 377 ยโสธร 16 14.15 92 81.41 3.53 1 0.88 113 อำนาจเจริญ 3 4.61 52 80.00 6 9.23 1.53 4.62 65 มุกดาหาร 19 27.14 45 64.29 2.85 5.71 70 เขตสุขภาพที่ 10 142 14.82 723 75.47 58 6.05 0.84 11 1.14 1.67 958 18 สิงหาคม น. คาดว่า..Success=90.29%

35  OFI การเตรียมเข้าสู่เมืองสมุนไพรจังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัด
9 (เป้าหมาย :1. มีโรงงานผลิตยาสมุนไพรที่ได้มาตรฐาน GMP สนับสนุนสถานบริการ 2. เกษตรมีรายได้จากการปลูกสมุนไพร) ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) - มีจำนวนเกษตรกรที่สนใจทั้งหมด 146 ราย รวม 7 อำเภอในจังหวัดอำนาจเจริญ และมีพื้นที่รวมทั้งหมด ไร่ - อบรมเกษตรกรผู้เพาะปลูกสมุนไพรเพื่อส่งวัตถุดิบให้กับโรงงานผลิตยา จำนวน 200 คน เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2561 ณ ศูนย์แพทย์แผนไทยพนา อ.พนา จ.อำนาจเจริญ ประเทศ จังหวัด อัตราการใช้ยาสมุนไพร อุบลราชธานี 23,336, บาท 1.60% ศรีสะเกษ 25,226, บาท 2.39% ยโสธร 7,212, บาท 2.94% อำนาจเจริญ 8,557, บาท 4.07% มุกดาหาร 5,076,429.22บาท 2.34% เขต10 69,409, บาท 2.18% ประเทศ 3,313,833, บาท 0.87% OFI ส่งเสริมการใช้และพัฒนาการผลิตสมุนไพรในเขต

36  Happy work life อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate)
10 (เป้าหมาย : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85) ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) เกณฑ์ อุบลราช ธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร เขต ประเทศ Retention rate 97.57% 97.37% 97.07% 98.35% 99.91% 98.05% na ประเทศ OFI ส่งเสริม Happy work life

37   (100%) 28 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
11 (เกณฑ์ : สสจ. ผ่านเกณฑ์ระดับ 5 ร้อยละ 60 , สสอ. ผ่านเกณฑ์ระดับ 5 ร้อยละ 20) ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) หน่วยงาน อุบลราช ธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร เขต ประเทศ สสจ. (100%) 76.32 สสอ. 28 100 33.33 28.57 57.98 0.00 เป็นการประเมินตนเองและส่งผลการประเมินตนเองให้ กพร.สป.สธ. ยังไม่มีผ่านเกณฑ์ระดับ 5 (มีส่งผลงานขอรับรางวัล) OFI 1.ส่งเสริมความต่อเนื่องยั่งยืน 2. พัฒนาทีม audit ระดับเขตเพื่อประเมินรับรอง

38 ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) รพศ.รพท.รพ.สังกัดกรมอื่นๆ
ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 12 (เป้าหมาย : 1.ร้อยละ 100 ของ รพศ. รพท. 2.ร้อยละ 80 ของ รพช.) OFI ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) หน่วยงาน อุบลราช ธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร เขต ประเทศ รพศ.รพท.รพ.สังกัดกรมอื่นๆ 97.56 รพช. 72.73 80.95 87.59 100 80.65 84.11 1.พัฒนา รพ.ที่ยังไม่ผ่านการประเมิน 2.พัฒนาความยั่งยืนและต่อเนื่อง อุบลราชธานี ต้องผ่านการรับรองเพิ่มอีก 2 แห่ง เตรียมส่งเอกสารขอรับประเมิน 2 แห่ง คือ รพ.สว่างวีระวงศ์ และ รพ.นาตาล

39 ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว
13 ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว (เป้าหมาย : ผ่านเกณฑ์ 5 ดาวไม่น้อยกว่า 25 % (สะสม)) ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) เกณฑ์ อุบลราช ธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร เขต ประเทศ รพ.สต. ติดดาว 31.55% 30.83% 30.58% 25.97% 51.28% 29.15 na OFI พัฒนารพ.สต.ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.ต้นแบบระดับเขต พัฒนาความต่อเนื่อง/ยั่งยืน หมายเหตุ : เป็นผลงานสะสมปี 2560

40  ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน
14 (เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ 6) OFI ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) เกณฑ์ อุบลราช ธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร เขต วิกฤติทางการเงิน ทุกจังหวัดไม่มีวิกฤติการเงินระดับ 7 กำหนดมาตรการและปฏิบัติตามอย่างเข้มข้น ประเทศ

41  ร้อยละของเด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย เกณฑ์ 76.79 74.59 79.42 78.79
15 (เป้าหมาย : ร้อยละ 85) ผลการดำเนินงาน (1 ต.ค.60 – 20 ส.ค. 2561) OFI เกณฑ์ อุบลราช ธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ เจริญ มุกดา หาร เขต ประเทศ การคัดกรองพัฒนาการ (100%) 76.79 74.59 79.42 78.79 73.63 76.32 78.82 พัฒนาการสมวัย 96.08 95.58 95.78 95.53 94.56 95.75 95.98 พบพัฒนาการล่าช้า (ไม่น้อยกว่า 20%) 25.75 22.93 15.00 22.49 15.99 22.64 19.97 พบพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม (100%) 83.86 83.62 71.62 81.80 68.50 81.85 82.08 1.พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการตรวจพัฒนาการ 2.ติดตามสนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ข้อสังเกตุ : ยโสธร และมุกดาหาร , พบพัฒนาการล่าช้าต่ำกว่า 20% (เกณฑ์ไม่น้อยกว่า 20%) ทุกจังหวัด การคัดกรองและ การดูแลเด็กที่สงสัยล่าช้า ยังไม่ได้ตามเกณฑ์

42


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google