งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัด ขอนแก่น)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัด ขอนแก่น)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัด ขอนแก่น)
NORTHEATERN SCIENCE PARK (NESP) กิจกรรมสร้างการรับรู้และความตระหนักในใช้บริการ Khon Kaen University Science Park วันที่ 7 สิงหาคม 2560 ณ สำนักงานอุทยานวิทยาศาสตร์ ม.ขอนแก่น Update 31 March 2017

2

3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

4 พันธกิจหลัก R2M Incubation Incubation Co-research OIL Lab Service
อาคารอำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันเฉียงเหนือ (จังหวัดขอนแก่น) Innovation design IPMO 1.กลุ่มกิจกรรมการพัฒนาบริการของอุทยานวิทยาศาสตร์ (Service Platform) STDB Incubation 2.กลุ่มกิจกรรมการบ่มเพาะธุรกิจ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (Science Technology and Innovation Business Incubation) Incubation R2M 3.กลุ่มกิจกรรมการพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีและวิจัยของภาคเอกชนในพื้นที่ (Industrial Research and Technology Capacity Development Program) IRTC Co-research 4.กลุ่มกิจกรรมการวิจัยร่วมกับภาคเอกชน (Collaborative Research)

5 จำนวนห้องปฏิบัติที่พร้อมบริการเอกชนจำนวน
บริการห้องปฏิบัติการเพื่อให้บริการแก่ภาคอุตสาหกรรม Lab Service Center จำนวนห้องปฏิบัติที่พร้อมบริการเอกชนจำนวน 24 ห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 3 ห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จำนวน 4 ห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 10 ห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 7 ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์ประกอบเครื่องเพิ่มปริมาณสารพันธุกรม Digital PCR 2) ชุด Gel electrophoresis เช่น - ห้องปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการกลางด้านการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ - ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ทดสอบอาหาร - ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์สมุนไพร - ห้องปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารที่บรรจุภาชนะปิดสนิทและออกแบบกระบวนการ - ห้องปฏิบัติสายการผลิตต้นแบบสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมบรรจุ ห้องปฏิบัติการที่ปรับปรุงเพื่อให้บริการเอกชน ห้องปฏิบัติการในมหาวิทยาลัยให้ได้มาตรฐาน ISO/ IEC 17025 การจัดหาเครื่องมืออุปกรณ์วิเคราะห์ทดสอบที่พร้อมสำหรับการวิจัยและพัฒนา การให้บริการออกหนังสือรับรองผลการวิเคราะห์ทดสอบตามวิธีมาตรฐาน

6 v บริการฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐด้าน ว และ ท
(Science and Technology infrastructure Databank) เป็นแหล่งข้อมูลที่ให้บริการแก่ภาคเอกชนและภาคอุตสาหกรรมแบบ one stop service ตลอด 24 ชั่วโมง มีการให้บริการสืบค้นข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพให้มีความทันสมัยและพร้อมให้บริการตลอดเวลารวมทั้งเพิ่มข้อมูลใหม่ ทางด้านนักวิจัย, ผลงานวิจัย, เครื่องมือวิจัย และห้องปฏิบัติการเข้าระบบฐานข้อมูล v

7 v บริการออกแบบนวัตกรรมโดยศูนย์ออกแบบนวัตกรรม
(Innovation Design Center) v การบริการจะเน้นที่การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Packaging Design) การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ การออกแบบตราสัญลักษณ์ และการออกแบบอื่นๆเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการฐานธุรกิจเทคโนโลยีและเชื่อมโยงกับบริการ

8 บริการด้านการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาแก่ภาคอุตสาหกรรม
ประกอบด้วยบริการหลักๆ ดังต่อไปนี้คือ -การส่งเสริมให้มีการสร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญา (IP Creation) -การให้การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา (IP Protection) -การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา (IP Commercialization) เช่น การตรวจสอบทรัพย์สินทางปัญญา (IP Audit) การประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา (IP Valuation) การจับคู่ธุรกิจ (Business Matching) และการอนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา (Licensing) -การบังคับใช้สิทธิ (Enforcement) v

9 v บริการบ่มเพาะธุรกิจ วทน. (Incubation platform) การให้การสนับสนุน
บริการพื้นฐาน (Basic Services Provided) พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาสถานประกอบการให้ได้มาตรฐาน พัฒนาบรรจุภัณฑ์พร้อมจดทรัพย์สินทางปัญญา ด้านการตลาดและการเงิน จัดทำแผนธุรกิจ บริการด้านการอบรมเตรียมความพร้อมด้านภาษี บริการสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดตั้งธุรกิจ - บริการพื้นเช่าสำหรับผู้ประกอบการ - บริการห้องประชุม - บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง - บริการโทรศัพท์และโทรสาร - บริการอุปกรณ์สำนักงาน เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องถ่ายเอกสาร บริการอื่นๆ การจับคู่ธุรกิจ (Business Matching) บริการนำพาผู้ประกอบการไปร่วมออกบูธ ประสานงานด้านการจัดหาแหล่งทุน เชื่อมโยงหน่วยงานรัฐอื่นๆ

10 รายได้ผู้ประกอบการที่สำเร็จหลักสูตรโครงการบ่มเพาะในปี2559
New business 91 companys รายได้ผู้ประกอบการที่สำเร็จหลักสูตรโครงการบ่มเพาะในปี2559 62,690, /ปี

11 Science Technology R2M and Innovation Business Incubation
เปิดแนวทางเชิงรุกของนวตักรรม สิ่งประดิษฐ์ห์รือผลงานวิจัยจากสถาบันการศึกษาสู่เชิงพาณิชย์ เป็นการสร้างโอกาสให้นักัวิจัย ผู้คิดค้นนวัตกรรม และนักศึกษาได้รวมทดสอบถึงความเป็นไปไดที่จะนําผลงานวิจัยไปต่อยอดในเชิงพาณิชยได้อย่างแท้จริงและเป็นรูปธรรมมากขึ้น ตัวอย่างงานวิจัย - อาหารสุขภาพจากไก่พื้นเมืองสายพันธุ์ มข. - การพัฒนาสายพันธุ์ไก่ มทส. และไก่เนื้อโคราช ระบบนำความเย็นจาน้ำล้นของเครื่องผลิตภัณฑ์ทำน้ำแข็งหลอดกลับมาใช้ในการผลิต Geopolymer Concrete แบบพรุน เครื่องช่วยคัดแยกมอดออกจากข้าวหรือ เครื่องฉายรังสีอินฟราเรด ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ARM ประหยัดพลังงานสำหรับ Big Data เครื่องรับซื้อขวดอัตโนมัติ SILK-GLOW แป้งแต่งหน้าจากผงไหมไทย ไร้ทัลคัม

12 Matching Preliminary First Visit First Contact
บริการการพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีและวิจัยของภาคเอกชนในพื้นที่ (Industrial Research and Technology Capacity Development Program) IRTC คือ โครงการที่ให้บริการแก่ผู้ประกอบการ SMEs เพื่อทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมการผลิตทุกประเภท ด้วยการส่งเสริมการนำเทคโนโลยีเข้าไปทำให้เกิดนวัตกรรมในการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต การจับคู่นวัตกรรมในรูปแบบของการใช้ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคเข้าไปเป็นที่ปรึกษาในการแก้ไขปัญหาทางเทคนิค ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิต พัฒนาคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐานสากลและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ รวมถึงการฝึกอบรมการเสาะหาเทคโนโลยีจากแหล่งต่างๆ เพื่อให้สามารถเข้าสู่การแข่งขันในตลาดการค้าสากลได้อย่างเข้มแข็ง First Contact First Visit Preliminary Matching จำนวนผู้ประกอบการที่ได้รับการแก้ไขปัญหาทางเทคโนโลยีจำนวน 101 บริษัท ทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ สูงสุด 50% ของงบประมาณโครงการ หรือไม่เกินวงเงิน 300,000 บาทต่อโครงการ

13 บริการวิจัยและพัฒนาร่วมกับภาคเอกชน (CO-RESEARCH)
คือการส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชนมีศักยภาพในการทำการวิจัยและพัฒนา เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การดำเนินงานวิจัยร่วมจะมุ่งเน้นงานวิจัยที่เป็นความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนและนักวิจัยในมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง ภาคเอกชนจะต้องมีส่วนร่วมในงานวิจัยนั้นทั้งในด้านการร่วมทุนและการดำเนินงานวิจัย โดยคาดหวังว่าผลการวิจัยนั้นนอกจากจะสร้างมูลค่าเพิ่ม และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ และยังต้องสามารถส่งเสริมศักยภาพในการทำงานวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนด้วย นอกจากนี้เพื่อให้เกิดผลกระทบสูงต่อเศรษฐกิจและสังคมของภูมิภาคฯ โครงการวิจัยร่วมระหว่างภาคเอกชนและอุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะให้ความสำคัญต่องานวิจัยในธุรกิจที่เป็น กลุ่มเป้าหมายของอุทยานฯ ได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ และอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน ซึ่งจะเป็นการต่อยอดความเข้มแข็งและสร้างความต่อเนื่องทางด้านวิจัยและพัฒนาให้แก่อุตสาหกรรมหลักในภูมิภาคฯ สัดส่วนการลงทุนของเอกชนในการร่วมวิจัยไม่ต่ำกว่า 60% อุทยานฯ สนับสนุนงบประมาณ ไม่เกิน 40% โดยที่เอกชนจะต้องร่วมลงทุนทั้งในรูปแบบที่เป็นตัวเงิน (in-cash) และรูปแบบที่ไม่ใช่ตัวเงิน (in-kind)

14


ดาวน์โหลด ppt อุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัด ขอนแก่น)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google