งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Project Management การวางแผนและการควบคุมโครงการด้วยเทคนิค PERT และ CPM

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Project Management การวางแผนและการควบคุมโครงการด้วยเทคนิค PERT และ CPM"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Project Management การวางแผนและการควบคุมโครงการด้วยเทคนิค PERT และ CPM
Department of Computer Science, Burapha University

2 การวางแผนและควบคุมโครงการ
เทคนิคการประเมินผลและทบทวนโครงการ (Program Evaluation and Review Technique, PERT) สามารถนำไปใช้กับโครงการที่มีเวลาดำเนินงานไม่แน่นอน ระเบียบวิธีวิถีวิกฤต (Critical Path Method, CPM) มักนำไปใช้กับโครงการที่ผู้บริหารเคยมีประสบการณ์มาก่อน และสามารถ ประมาณเวลารวมทั้งค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของโครงการได้แน่นอน Department of Computer Science, Burapha University

3 วัตถุประสงค์ในการนำเพิร์ต/ซีพีเอ็มมาใช้
เพื่อช่วยในด้านการวางแผนโครงการ โดยคำนวณระยะเวลาดำเนินงานของโครงการ แสดงให้เห็นถึงแผนการดำเนินงานกิจกรรมย่อยต่างๆ ว่าควรเริ่มงานเมื่อไร ควรเสร็จเมื่อไร กิจกรรมใดสำคัญ กิจกรรมใดล่าช้าไม่ได้ กิจกรรมใดล่าช้าได้ ช้าได้เท่าไร เพื่อช่วยในการควบคุมโครงการ ให้ดำเนินไปตามแผนงานที่กำหนดไว้ ช่วยให้ทราบว่ากิจกรรมใดที่ต้องดูแลไม่ให้ช้าไปกว่าที่กำหนด เพื่อช่วยในการบริหารทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ เช่น คนงาน เครื่องมือ ฯลฯ ให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ เพื่อช่วยในการบริหารโครงการ ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องเร่งโครงการให้เสร็จเร็วกว่ากำหนด ทำให้สามารถระบุได้ว่าต้องเร่งกิจกรรมใดบ้าง ต้องใช้ทรัพยากรเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงไร Department of Computer Science, Burapha University

4 Project Planning, Scheduling, and Controlling
Department of Computer Science, Burapha University

5 Department of Computer Science, Burapha University
Project Planning คำถามที่ต้องพิจารณาหาคำตอบคือ..... วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของโครงการคืออะไร? การทำโครงการ จะประกอบด้วยกิจกรรมอะไรบ้าง? แต่ละกิจกรรมย่อยเกี่ยวข้อง หรือมีความสัมพันธ์กันอย่างไร? ลำดับก่อนหลังของแต่ละกิจกรรม กิจกรรมใดต้องทำก่อน กิจกรรมใดต้องทำภายหลัง? เวลาที่ใช้ในการทำงานย่อยละกิจกรรมคือ? ทรัพยากรที่ใช้ในการทำแต่ละกิจกรรมมีอะไรบ้าง? Department of Computer Science, Burapha University

6 Department of Computer Science, Burapha University
Project Scheduling คำถามที่ต้องพิจารณาหาคำตอบคือ..... จะต้องทำโครงการเสร็จเมื่อใด? ตารางเวลาในการทำแต่ละกิจกรรมคือ? กิจกรรมวิกฤตในโครงการคือกิจกรรมใด? กิจกรรมใดในโครงการไม่ใช่กิจกรรมวิกฤต? กิจกรรมที่ไม่ใช่กิจกรรมวิกฤตสามารถล่าช้าได้เท่าใด โดยไม่มีผลกระทบต่อกำหนดการทำโครงการเสร็จ? ถ้าเวลาในการทำกิจกรรมเปลี่ยนแปลงไป จะมีความน่าจะเป็นเท่าใดที่จะทำโครงการเสร็จสมบูรณ์ตามกำหนดการ? Department of Computer Science, Burapha University

7 Department of Computer Science, Burapha University
Gantt Chart - Service Activities Commercial Aircraft During 60-minute Layover Department of Computer Science, Burapha University

8 Department of Computer Science, Burapha University
Project Controlling ได้แก่การควบคุมโครงการขนาดใหญ่ ทั้งในด้านของ การดูแลการจัดตารางเวลาทำงาน การใช้ทรัพยากร และการใช้งบประมาณอย่างใกล้ชิด คำถามที่ต้องพิจารณาหาคำตอบคือ..... ในวันหรือเวลาใดๆ โครงการดำเนินไปตามตารางเวลาที่กำหนดหรือไม่ ช้ากว่ากำหนด หรือเสร็จเร็วกว่ากำหนด? ในวันหรือเวลาใดๆ ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการทำโครงการเท่ากับหรือน้อยกว่า หรือมากกว่าที่ตั้งงบประมาณไว้? มีทรัพยากรเพียงพอที่จะใช้ในการทำโครงการเสร็จตรงเวลาหรือไม่? ถ้าโครงการเสร็จเร็วกว่าที่กำหนด การทำงานเสร็จแบบใดที่ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายต่ำที่สุด? Department of Computer Science, Burapha University

9 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนของ PERT/CPM การศึกษารายละเอียดของโครงการ การกระจายกิจกรรม การกำหนดลำดับการทำงานของกิจกรรม การประมาณเวลาในการดำเนินงานของแต่ละกิจกรรม การสร้างข่ายงาน การวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

10 Department of Computer Science, Burapha University
วิธี สร้างข่ายงาน และ วิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

11 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ส่วนประกอบข่ายงาน ได้แก่ 1. จุดเริ่มต้น 2. จุดสิ้นสุด 3. จุดเชื่อม คือ กิจกรรมย่อยที่เป็นส่วนประกอบโครงการ 4. เส้นเชื่อม กำหนดทิศทางดำเนินกิจกรรมจากซ้ายไปขวา โดยที่เส้นเชื่อมจะเชื่อมระหว่างจุดเชื่อมสองจุดเสมอ 5. ระยะเวลาที่ใช้ดำเนินแต่ละกิจกรรม สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

12 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ลักษณะข่ายงาน ได้แก่ 1. ข่ายงานเริ่มต้นที่จุดเดียวและสิ้นสุดที่จุดเดียว 2. เส้นเชื่อมแสดงถึงการไหลเวียนงาน โดยมีหัวลูกศรแสดงทิศทาง 3. ลักษณะที่จุดเชื่อม 2 จุดมีเส้นเชื่อมพุ่งเข้าและพุ่งออกมากกว่าหนึ่งเส้นได้ 4. โครงการดำเนินงานโดยมีทิศทางจากซ้ายมือไปยังขวามือ 5. กิจกรรมลำดับก่อนหน้าต้องแล้วเสร็จอย่างเป็นลำดับขั้น ดังรูปประกอบ สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

13 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ประเภทข่ายงาน ได้แก่ 1. ข่ายงานประเภทกิจกรรมบนเส้นเชื่อม(Activity on Arc) โครงการมีจุดเริ่มต้น มีเส้นเชื่อมโยงระหว่างจุดเชื่อม โดยที่ระบุชื่อกิจกรรมอยู่บนเส้นเชื่อม แต่ละจุดเชื่อมแสดงเหตุการณ์เริ่มต้นหรือสิ้นสุด ดังนี้ สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

14 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ประเภทข่ายงาน ( ต่อ ) 2. ข่ายงานประเภทกิจกรรมบนจุดเชื่อม (Activity on Node) จุดเชื่อมแสดงกิจกรรม เส้นเชื่อมแสดงความสัมพันธ์ของกิจกรรม ดังตัวอย่าง สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน กิจกรรม ที่ต้องทำเสร็จก่อน ระยะเวลา ดำเนินงาน(วัน) A - 2 B 1 C D 3 E F G H A D G จุดเริ่ม B E จุดสิ้นสุด C F H Department of Computer Science, Burapha University

15 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
2. ข่ายงานกิจกรรมบนจุดเชื่อม ( ต่อ ) มีส่วนประกอบดังนี้ 2.1 ชื่อกิจกรรม เป็นการระบุตำแหน่งของกิจกรรมย่อยที่เป็นจุดเชื่อมในข่ายงาน 2.2 ระยะเวลาดำเนินงานแต่ละกิจกรรม หรือ แทนสัญลักษณ์ คือ t มีหน่วยเป็นวัน 2.3 ระยะเวลาเริ่มต้นกิจกรรมอย่างเร็วที่สุดนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นโครงการ ( Earliest Start Time ; ES ) กิจกรรมแรกของข่ายงานทุกอันต้องมีค่า ES เท่ากับ 0 วันเสมอ 2.4 ระยะเวลาแล้วเสร็จกิจกรรมอย่างเร็วที่สุดนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นโครงการ ( Earliest Finish Time ; EF ) จากสูตร EF = ES + t 2.5 ระยะเวลาเริ่มต้นอย่างช้าที่สุดนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นโครงการ ( Latest Start Time ; LS ) 2.6 ระยะเวลาแล้วเสร็จกิจกรรมอย่างช้าที่สุดนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นโครงการ ( Latest Finish Time ; LF ) จากสูตร LF = LS + t หรือ LS = LF - t 2.7 ระยะเวลายืดหยุ่น ( Slack Time ; ST or Float Time ; FT ) จากสูตร LF - EF = ST หรือ LS – ES = ST โดยที่ ต้องมีค่ามากกว่า 0 หรือ เท่ากับ 0 เท่านั้น สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

16 ขั้นตอนการคำนวณกำหนดเวลาทำงาน
คำนวณกำหนดเวลาอย่างเร็วที่สุด คำนวณกำหนดเวลาอย่างช้าที่สุด กำหนดกิจกรรมวิกฤต สร้างตารางแสดงกำหนดเวลาของโครงการ (ES) (EF) (LS) (LF) Department of Computer Science, Burapha University

17 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ตัวอย่าง ข่ายงานกิจกรรมบนจุดเชื่อม ที่มีการคำนวณเวลาที่เกี่ยวข้อง มีรูปแบบข่ายงานดังนี้ สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน 2 3 Department of Computer Science, Burapha University

18 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ขั้นตอนวิเคราะห์ข่ายงาน ได้แก่ 1. นำข้อมูลลำดับกิจกรรมแต่ละกิจกรรมจากตารางแสดงข้อมูลดำเนินกิจกรรมมาเขียนข่ายงานเริ่มต้น ดังนี้ สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

19 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ขั้นตอนวิเคราะห์ข่ายงาน (ต่อ) 2. ระบุระยะเวลาเริ่มต้นโครงการอย่างเร็วที่สุด ในที่นี้คือ 0 วันนับตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ นำค่า 0 ไปแทนที่ตำแหน่ง ES ของกิจกรรมแรกในข่ายงาน สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

20 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ขั้นตอนวิเคราะห์ข่ายงาน (ต่อ) 3. วิเคราะห์ข่ายงานกรอกตัวเลขจากจุดเริ่มต้นที่ซ้ายมือสุด ( Forwarding ) โดยเริ่มต้นจากค่า 0 ที่ซ้ายมือ จากสูตร EF = ES + t นำผลลัพธ์ที่ได้กรอกข้อมูลลงข่ายงาน สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

21 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ขั้นตอนวิเคราะห์ข่ายงาน (ต่อ) 4. พิจารณาคู่เปรียบเทียบระหว่างค่า EF ของกิจกรรม A และ C กรณี Forwarding เมื่อเกิดคู่เปรียบเทียบต้องเลือกค่า EF ที่มากกว่าเสมอ สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

22 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ขั้นตอนวิเคราะห์ข่ายงาน (ต่อ) 5. กรณี Forwarding ผลลัพธ์การวิเคราะห์ข่ายงาน เป็นดังนี้ สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

23 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ขั้นตอนวิเคราะห์ข่ายงาน (ต่อ) 6. วิเคราะห์ข่ายงานกรอกตัวเลขจากจุดเริ่มต้นที่ขวามือสุด ( Backwarding ) โดยเริ่มต้นจากค่า 18 ที่ขวามือ จากสูตร LS = LF - t นำผลลัพธ์ที่ได้กรอกข้อมูลลงข่ายงาน สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

24 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ขั้นตอนวิเคราะห์ข่ายงาน (ต่อ) 7. พิจารณาคู่เปรียบเทียบระหว่างค่า LS ของกิจกรรม C กรณีนี้ไม่มีคู่เปรียบเทียบ สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

25 สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน
ขั้นตอนวิเคราะห์ข่ายงาน (ต่อ) 8. ผลลัพธ์สุดท้ายของการ Backwarding และเสร็จสิ้นการวิเคราะห์ข่ายงาน ดังนี้ สร้างและวิเคราะห์ข่ายงาน Department of Computer Science, Burapha University

26 Department of Computer Science, Burapha University
ตัวอย่าง กิจกรรม ที่ต้องทำเสร็จก่อน ระยะเวลา ดำเนินงาน(วัน) A - 3 B 5 C D A, C 4 E 8 F 2 G H I J E,G,H Department of Computer Science, Burapha University

27 Department of Computer Science, Burapha University
สร้างข่ายงาน A D E 3 4 8 G J จุดเริ่มต้น โครงการ C F 4 3 3 2 H 2 B I จุดสิ้นสุด โครงการ 5 5 Department of Computer Science, Burapha University

28 คำนวณกำหนดเวลาอย่างเร็วที่สุด
A D E 3 4 8 G J จุดเริ่มต้น โครงการ C F 4 3 3 2 H 2 B I จุดสิ้นสุด โครงการ 5 5 Department of Computer Science, Burapha University

29 คำนวณกำหนดเวลาอย่างช้าที่สุด
A D E 3 4 8 G J จุดเริ่มต้น โครงการ C F 4 3 3 2 H 2 B I จุดสิ้นสุด โครงการ 5 5 Department of Computer Science, Burapha University

30 ตารางกำหนดเวลาโครงการ
กิจกรรม t ES EF LS LF ST งานวิกฤต A 3 5 8 B ใช่ C D 4 12 E 20 F 2 10 14 16 6 G H 18 I 23 13 J Department of Computer Science, Burapha University

31 Department of Computer Science, Burapha University
เส้นทางวิกฤต A D E 3 4 8 G J จุดเริ่มต้น โครงการ C F 4 3 3 2 H 2 B I จุดสิ้นสุด โครงการ 5 5 Department of Computer Science, Burapha University

32 Department of Computer Science, Burapha University
บริหารและควบคุม โครงการ ด้วย เทคนิค PERT Department of Computer Science, Burapha University

33 Department of Computer Science, Burapha University
สูตรที่เกี่ยวข้องกับ PERT ได้แก่ 1. ระยะเวลาดำเนินกิจกรรมโดยเฉลี่ยแต่ละกิจกรรม , t e = ( a + b + 4m ) / 6 2. ค่าแปรปรวนของระยะเวลาดำเนินกิจกรรมแต่ละกิจกรรม, V e= (( b – a ) / 6) 2 โดย a แทน ระยะเวลาดำเนินกิจกรรมแล้วเสร็จเร็วที่สุด ( Optimistic Duration ) m แทน ระยะเวลาดำเนินกิจกรรมแล้วเสร็จเป็นส่วนใหญ่ ( Most Likely Duration ) b แทน ระยะเวลาดำเนินกิจกรรมแล้วเสร็จเป็นอย่างช้าที่สุด ( Pessimistic Duration ) เทคนิค PERT Department of Computer Science, Burapha University

34 กิจกรรมที่ต้องทำเสร็จก่อน
ตัวอย่าง กิจกรรม กิจกรรมที่ต้องทำเสร็จก่อน เวลาดำเนินงาน (วัน) a m b A - 1 2 3 B 4 C D 6 E 7 F 9 G D,E 11 H F,G Department of Computer Science, Burapha University

35 คำนวณค่าเฉลี่ยและความแปรปรวน
กิจกรรม a m b te ความแปรปรวน A 1 2 3 (1+3+4(2))/6 = 2 ((3 – 1)/6)2 = 0.11 B 4 (2+4+4(3))/6 = 3 ((4 – 2)/6)2 = 0.11 C D 6 (2+6+4(4))/6 = 4 ((6 – 2)/6)2 = 0.44 E 7 (1+7+4(4))/6 = 4 ((7 – 1)/6)2 = 1.00 F 9 (1+9+4(2))/6 = 3 ((9 – 1)/6)2 = 1.78 G 11 (3+11+4(4))/6 = 5 ((11 – 3)/6)2 = 1.78 H Department of Computer Science, Burapha University

36 ข่ายงานและการคำนวณเวลาของโครงการ
C F A 2 3 2 จุดเริ่มต้น โครงการ E G H จุดสิ้นสุด โครงการ 4 5 2 B D 3 4 Department of Computer Science, Burapha University

37 Department of Computer Science, Burapha University
เส้นทางวิกฤต F A C 2 2 3 จุดเริ่มต้น โครงการ E G H จุดสิ้นสุด โครงการ 4 5 2 B D 3 4 กำหนดการแล้วเสร็จของโครงการนี้ จะใช้เวลาดำเนินงาน 15 วัน โดยมีกิจกรรมวิกฤตคือ A,C,E,G,H ซึ่งถ้ามีเหตุให้เสร็จช้ากว่ากำหนด จะทำให้โครงการเสร็จช้าไปด้วย Department of Computer Science, Burapha University

38 Department of Computer Science, Burapha University
ตารางเวลาโครงการ กิจกรรม te ES LS EF LF ST ความแปรปรวน A 2 0* 0.11 B 3 1 4 C D 7 8 0.44 E 1.00 F 10 13 6 1.78 G 5 H 15 ผลรวมของค่าแปรปรวนของกิจกรรมวิกฤต = = 3.111 Department of Computer Science, Burapha University

39 Department of Computer Science, Burapha University
สูตรที่เกี่ยวข้องกับ PERT ( ต่อ ) 3. สูตร ค่าคะแนนปกติมาตรฐาน หรือ Z Score คือ Z = ( X - X ) / S.D. โดยที่ X แทน ระยะเวลาแล้วเสร็จโครงการที่โจทย์กำหนด X แทน ระยะเวลาแล้วเสร็จโครงการโดยเฉลี่ย S.D. คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานระยะเวลาดำเนินกิจกรรม จากสูตร S.D. = ผลรวมของค่าแปรปรวนระยะเวลาดำเนินกิจกรรมวิกฤตทุกกิจกรรม เทคนิค PERT Department of Computer Science, Burapha University

40 Department of Computer Science, Burapha University
สูตรที่เกี่ยวข้องกับ PERT ( ต่อ ) 4. จากเทคนิค PERT เมื่อได้ผลลัพธ์ค่าคะแนนปกติมาตรฐาน หรือ Z Score แล้ว นำค่าดังกล่าว ไปเทียบในตาราง Z Score เพื่อหาค่าความน่าจะเป็นที่ทำให้โครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดว่ามีโอกาสเกิดกี่เปอร์เซ็นต์ เทคนิค PERT Department of Computer Science, Burapha University

41 ความน่าจะเป็นในการทำโครงการเสร็จ
การคำนวณหาความน่าจะเป็นที่จะทำโครงการเสร็จภายใน 16 วัน Z = ( X - X ) / S.D. Z = ( ) / Z = 0.57 จากตารางการแจกแจงแบบปกติ(Normal Distribution) ค่าความน่าจะเป็นที่ Z = 0.57 เท่ากับ = กล่าวได้ว่ามีโอกาส 71.6% ที่จะทำโครงการนี้เสร็จภายใน 16 วัน 0.5 Department of Computer Science, Burapha University

42 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค PERT 1. จากตารางแสดงข้อมูลดำเนินกิจกรรม ดังนี้ เทคนิค PERT Department of Computer Science, Burapha University

43 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค PERT ( ต่อ ) 2. คำนวณระยะเวลาดำเนินกิจกรรมโดยเฉลี่ยแต่ละกิจกรรม ดังนี้ เทคนิค PERT 4 6 10 4 7 5 6 8 8 Department of Computer Science, Burapha University

44 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค PERT ( ต่อ ) 3. จากตารางแสดงข้อมูลดำเนินกิจกรรมเขียนข่ายงาน ดังนี้ เทคนิค PERT 4 4 6 6 10 7 8 5 8 Department of Computer Science, Burapha University

45 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค PERT ( ต่อ ) 4. คำนวณหาระยะเวลาที่ต้องใช้ทำโครงการ เท่ากับ 24 วัน ดังนี้ 4 4 6 6 10 7 8 5 8 Department of Computer Science, Burapha University

46 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค PERT ( ต่อ ) 5. คำนวณหาค่าแปรปรวนระยะเวลาดำเนินกิจกรรมวิกฤต เทคนิค PERT Department of Computer Science, Burapha University

47 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค PERT ( ต่อ ) 6. คำนวณหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานระยะเวลาดำเนินกิจกรรม จากสูตร S.D. = ผลรวมของค่าแปรปรวนระยะเวลาดำเนินกิจกรรมวิกฤต แทนค่าสูตร S.D. = = วัน นำผลลัพธ์ที่ได้ไปแทนสูตรหาค่าคะแนนปกติมาตรฐานภายหลัง เทคนิค PERT Department of Computer Science, Burapha University

48 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค PERT ( ต่อ ) 7. แทนค่าสูตรค่าคะแนนปกติมาตรฐาน ดังนี้ Z = ( X - X ) / S.D. โดยที่ X แทน ระยะเวลาแล้วเสร็จโครงการที่โจทย์กำหนด = 25 วัน X แทน ระยะเวลาแล้วเสร็จโครงการโดยเฉลี่ย = 24 วัน S.D. คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานระยะเวลาดำเนินกิจกรรม = วัน เทคนิค PERT Department of Computer Science, Burapha University

49 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค PERT ( ต่อ ) 7. ( ต่อ ) แทนค่าดังนี้ Z = ( ) / = 0.46 เทียบ ตาราง Z Score ดังนี้ เทคนิค PERT 0.5 Department of Computer Science, Burapha University

50 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค PERT ( ต่อ ) 8. จากตาราง Z Score ค่าความน่าจะเป็นเท่ากับ แต่ค่า Z ในตารางนั้นแสดงค่าความน่าจะเป็นเพียงครึ่งเดียว จึงต้องบวกค่าความน่าจะเป็นอีกครึ่งหนึ่งของพื้นที่กราฟเข้าไป ดังนี้ = หรือ % เทคนิค PERT Department of Computer Science, Burapha University

51 ตัวอย่างการหาความน่าจะเป็นจากค่า Z
P(Z > 1.82)  =  1 - P(Z < 1.82) P(Z < 1.82)  =  = ดังนั้น P(Z > 1.82)  =    =  .0344 Department of Computer Science, Burapha University

52 ตัวอย่างการหาความน่าจะเป็นจากค่า Z
P(Z > -1.18)  =  = ความน่าจะเป็นที่ Z < -1.18 P(Z < -1.18)  = 1 - P(Z > -1.18) = = Department of Computer Science, Burapha University

53 Department of Computer Science, Burapha University
บริหารและควบคุม โครงการ ด้วย เทคนิค CPM Department of Computer Science, Burapha University

54 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค CPM 1. จากตารางแสดงข้อมูลดำเนินกิจกรรมที่กำหนด ต้องการวางแผนการดำเนินงานของโครงการ โดยเสร็จโครงการเร็วที่สุด เทคนิค CPM รวม 34,000 บาท Department of Computer Science, Burapha University

55 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค CPM ( ต่อ ) 2. สร้างข่ายงานเริ่มต้นและวิเคราะห์ข่ายงาน ดังนี้ เทคนิค CPM Department of Computer Science, Burapha University

56 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค CPM ( ต่อ ) 3. บันทึกลงตารางเร่งกิจกรรมครั้งแรก ดังนี้ เทคนิค CPM Department of Computer Science, Burapha University

57 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค CPM ( ต่อ ) 4. เลือกกิจกรรมวิกฤตที่เกิดขึ้นมาเร่งกิจกรรมตามหลักการดังนี้ 4.1 เร่งกิจกรรมหนึ่งครั้งมีผลกับระยะเวลาแล้วเสร็จโครงการลดลงหนึ่งครั้งเสมอ 4.2 ค่าใช้จ่ายเร่งงานต่อวัน = ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งกิจกรรม ระยะเวลาที่ลดลงจากการเร่งกิจกรรม 4.3 ถ้าเกิดเส้นทางวิกฤตขึ้นมาในข่ายงานเพียงเส้นเดียว ให้เลือกกิจกรรมวิกฤตที่มีค่าใช้จ่ายในการ เร่งงานต่อวันต่ำที่สุดมาเร่งให้ครบถ้วนและบันทึกลงในตารางเร่งกิจกรรม 4.4 ไม่ว่าจะเกิดเส้นทางวิกฤตขึ้นมากี่เส้นก็ตาม ถ้าข่ายงานมีกิจกรรมร่วมวิกฤตมากกว่าหนึ่งเส้นทาง ให้เลือกกิจกรรมดังกล่าวมาเร่ง โดยที่การเร่งกิจกรรมวิกฤตให้เร็วขึ้น 1 วัน ถือเป็นการเร่งกิจกรรมหนึ่งครั้งมีผลต่อระยะเวลาแล้วเสร็จโครงการลดลงหนึ่งครั้งเสมอ 4.5 ถ้าเกิดเส้นทางวิกฤตพร้อมกันมากกว่าหนึ่งเส้นในข่ายงาน และ กิจกรรมวิกฤตถูกเร่งครบถ้วนแล้วหรือไม่มีกิจกรรมร่วมวิกฤตในข่ายงาน ให้เลือกกิจกรรมวิกฤตที่มีค่าใช้จ่ายต่ำสุดในแต่ละเส้นทางมาเร่งพร้อมกัน โดยที่ระยะเวลาที่สามารถเร่งให้เร็วขึ้นพร้อมกันจะเป็นระยะเวลาที่เร่งได้เร็วขึ้นน้อยที่สุดของกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งในคู่ที่เร่งพร้อมกันนั้น เทคนิค CPM Department of Computer Science, Burapha University

58 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค CPM ( ต่อ ) 5. บันทึกลงตารางเร่งกิจกรรมถัดมา ดังนี้ เทคนิค CPM Department of Computer Science, Burapha University

59 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค CPM ( ต่อ ) 6. วิเคราะห์ข่ายงานภายหลังการเร่งกิจกรรมครั้งที่ 1 ดังนี้ เทคนิค CPM Department of Computer Science, Burapha University

60 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค CPM ( ต่อ ) 7. บันทึกลงตารางเร่งกิจกรรมถัดมา ดังนี้ เทคนิค CPM Department of Computer Science, Burapha University

61 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค CPM ( ต่อ ) 8. วิเคราะห์ข่ายงานภายหลังการเร่งกิจกรรมครั้งที่ 2 ดังนี้ เทคนิค CPM Department of Computer Science, Burapha University

62 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค CPM ( ต่อ ) 9. บันทึกลงตารางเร่งกิจกรรมถัดมา ดังนี้ เทคนิค CPM Department of Computer Science, Burapha University

63 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค CPM ( ต่อ ) 10. วิเคราะห์ข่ายงานภายหลังการเร่งกิจกรรมครั้งที่ 3 ดังนี้ เทคนิค CPM 6 Department of Computer Science, Burapha University

64 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค CPM ( ต่อ ) 11. ตรวจสอบเพื่อปรับปรุงแผนงานให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น โดยพิจารณาจากข่ายงาน ถ้าทุกกิจกรรมที่ต้องทำการเร่งงานมีสภาพเป็นกิจกรรมวิกฤตทั้งหมดแสดงว่าแผนงานการเร่งโครงการนั้นเหมาะสมแล้ว แต่ถ้ายังมีบางกิจกรรมที่อยู่ในแผนว่าจะต้องเร่งให้เสร็จเร็วขึ้น แต่ไม่ได้อยู่บนเส้นทางวิกฤต แสดงว่าแผนงานการเร่งโครงการนั้นควรต้องปรับปรุง อันจะทำให้ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นลง ในขณะที่เวลาแล้วเสร็จของโครงการยังคงเดิม Department of Computer Science, Burapha University

65 Department of Computer Science, Burapha University
ขั้นตอนเทคนิค CPM ( ต่อ ) 12. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการทั้งหมด ดังนี้ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานทั้งหมด = ค่าใช้จ่ายของการทำโครงการปกติ + ค่าใช้จ่ายจากการเร่งโครงการในตารางบันทึกเร่งกิจกรรม = ( 4, , , , , ,000 ) + 2,600 = 36,600 บาท โดยทำโครงการเสร็จใช้เวลา 12 วัน เทคนิค CPM Department of Computer Science, Burapha University


ดาวน์โหลด ppt Project Management การวางแผนและการควบคุมโครงการด้วยเทคนิค PERT และ CPM

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google