งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ

2 หัวข้อ ส่วนที่ 1 เงินเดือนและการเบิกจ่าย
ส่วนที่ 2 ภาพรวมโครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ ส่วนที่ 3 การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ส่วนที่ 4 ข้อมูลตั้งฐานเพื่อการเบิกจ่าย

3 ส่วนที่ 1 เงินเดือนและการเบิกจ่าย
ส่วนที่ 1 เงินเดือนและการเบิกจ่าย

4 เหตุที่ต้องทำบัญชีถือจ่าย
1 ควบคุมการเบิกจ่ายให้เป็นตามกฎหมาย/ระเบียบ 2 ควบคุมมิให้ใช้จ่ายเกินวงเงินงบประมาณ

5 ประโยชน์ของบัญชีถือจ่าย
3 ฐาน ตั้งงบ ประมาณ 4 ฐานข้อมูลสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ 1 เป็นหลักฐานการเบิกจ่าย 2 ควบคุมอัตรากำลัง

6 วิธีการจัดทำบัญชีถือจ่าย
1 ส่วนราชการจัดทำ 2 กรมบัญชีกลางจัดทำ

7 การเบิกจ่ายตามกรอบอัตรา
การบรรจุแต่งตั้ง การเลื่อนระดับและปรับอัตรา การปรับวุฒิ การเบิกจ่ายเงินประจำตำแหน่ง/เงินวิทยฐานะ การเบิกจ่ายเงินตอบแทนรายเดือน

8 ส่วนที่ 2 ภาพรวมโครงการจ่ายตรงเงินเดือน
ส่วนที่ 2 ภาพรวมโครงการจ่ายตรงเงินเดือน

9 โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่จะได้รับ แนวทางการดำเนินงาน

10 ความเป็นมา กรมบัญชีกลางทำการขอเบิก เงินเดือน / ค่าจ้างประจำ จากในระบบ GFMIS และดำเนินการโอนเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารรัฐวิสาหกิจ/ธนาคารพาณิชย์ ของผู้มีสิทธิโดยตรง ตามข้อมูลที่ส่วนราชการจัดทำ

11 ระบบจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างประจำของกรมบัญชีกลาง

12 ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ พัฒนาระบบการเบิกจ่ายโดยนำเทคโนโลยี มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ 1 เชื่อมโยงระบบต่างๆ 2 ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3 มีระบบฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน 4 ลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 5

13 ส่วนราชการ ประโยชน์ที่จะได้รับ ลดขั้นตอนการทำงาน
ลดค่าใช้จ่ายในการจัดทำเอกสารขอเบิก และการโอนเงิน ส่วนราชการ สามารถทำงาน ในส่วนที่เป็นภารกิจหลักได้เต็มที่ มีฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร

14 กรมบัญชีกลาง ประโยชน์ที่จะได้รับ มีระบบฐานข้อมูล
บุคลากรภาครัฐเต็มรูปแบบ กรมบัญชีกลาง ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ประหยัดต้นทุนในการดำเนินการเบิกจ่าย

15 และเงินคงคลังของประเทศ มีฐานข้อมูลในการบริหารบุคลากร
ประโยชน์ที่จะได้รับ การบริหารเงินสด และเงินคงคลังของประเทศ ด้านมหภาค มีฐานข้อมูลในการบริหารบุคลากร และงบประมาณทั้งระบบ

16 ค่าใช้จ่ายและเงินต่าง ๆ ตามโครงการจ่ายตรงฯ

17 ค่าใช้จ่ายที่นำเข้าระบบจ่ายตรง
1 2 3 งบบุคลากร -เงินเดือน / ค่าจ้างประจำ -เงินประจำตำแหน่ง -เงินวิทยฐานะ -เงินเพิ่มพิเศษซึ่งจ่ายควบ เงินเดือน/ค่าจ้างประจำ ยกเว้น เงินเพิ่มพิเศษ สำหรับข้าราชการ ซึ่งมีตำแหน่งหน้าที่ ประจำอยู่ในต่างประเทศ (พ.ข.ต.) -เงินค่าตอบแทน นอกเหนือจากเงินเดือน งบดำเนินงาน -เงินตอบแทนพิเศษ -เงินค่าเช่าบ้าน (กรณีส่วนราชการมีความประสงค์ขอเบิก) -เงินค่าตอบแทนรถประจำตำแหน่ง งบกลาง -เงินสมทบ ชดเชย กบข./ กสจ.

18 เงินที่หักจากเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
ประเภท เงินที่หัก เงินที่มีกฎหมายกำหนดให้หักจากเงินเดือนและค่าจ้างประจำ เงินที่ไม่มีกฎหมายกำหนดให้หักจากเงินเดือนและค่าจ้างประจำ - ภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา - เงินสะสม ( กบข/กสจ) - หนี้ที่ต้องชำระให้แก่ส่วนราชการ - หนี้ที่จ่ายชำระหนี้ให้แก่บุคคลที่สาม

19 การหักเงิน ชำระหนี้ 2 3 1 4 5 6 7 ส่วนราชการกำหนดหนี้ที่จะบริการหัก
ผู้มีสิทธิมีหนังสือยินยอม ให้หักเงิน -กับเจ้าหนี้ -กับส่วนราชการ 1 เจ้าหนี้ประสาน ขอความร่วมมือกับ ส่วนราชการให้ดำเนินการหักเงิน การหักเงิน ชำระหนี้ 4 ผู้มีสิทธิเรียงลำดับหนี้ 5 ส่วนราชการดูแลเรื่อง การเรียงลำดับหนี้ 7 กรมบัญชีกลางจะนำเงินที่ ส่วนราชการแจ้งว่าเป็นรายการหนี้เข้าบัญชีส่วนราชการส่วนกลาง 6 จำนวนหนี้ที่แจ้งหักแต่ละบุคคลไม่เกินจำนวนเงินเดือน/ค่าจ้างประจำสุทธิที่เหลือหลังหักภาษีฯ และค่าธรรมเนียมธนาคาร (ถ้ามี)

20 จะเข้าร่วมโครงการได้อย่างไร
การเตรียมตัว 3. ส่งมอบระบบการบันทึกข้อมูล ตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากร ภาครัฐประจำปี 2. บันทึกฐานข้อมูลบุคลากร ภาครัฐในระบบให้เป็นปัจจุบัน กรมบัญชีกลาง ส่วนราชการ ได้รับการตรวจสอบฐานข้อมูล ประจำปี 2. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (เชื่อมต่อ Internet) 3. เตรียมข้อมูล 3.1 วันเริ่มรับราชการ 3.2 วันเดือนปีเกิด 3.3 เลขประจำตัวประชาชน 3.4 เลขบัญชีธนาคาร 3.5 รายการลดหย่อน 3.6 รายการหนี้ที่ให้หัก 3.7 ที่อยู่

21 แนวทางการดำเนินงาน

22 ส่วนราชการ 2 3 1 4 5 6 การดำเนินงาน ในแต่ละเดือน
ประมวลผลการเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ 1 บันทึกการเปลี่ยนแปลงฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ เช่น บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อนเงินเดือน โยกย้าย พ้นจากราชการ ฯลฯ 3 บันทึกรายการขอเบิกและหักหนี้ 4 ออกรายงานและตรวจสอบข้อมูลการเบิกเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ การดำเนินงาน ในแต่ละเดือน 5 ส่งเอกสารการขอเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำในแต่ละเดือนให้กรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 12 ของเดือน 6 กรณีมีการแก้ไข ต้องส่งให้กรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 17 ของเดือน

23 เบิกเงินต่าง ๆ ที่ส่วนราชการขอเบิก ในระบบ GFMIS
กรมบัญชีกลาง 3 เบิกเงินต่าง ๆ ที่ส่วนราชการขอเบิก ในระบบ GFMIS 2 ตรวจสอบและอนุมัติ 1 ดำเนินการโอนย้ายข้อมูลการขอเบิกเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ ตามที่ส่วนราชการแจ้ง การดำเนินงาน ในแต่ละเดือน 4 ดำเนินการโอนเงิน 4.1 กบข./กสจ. - เข้าบัญชีกบข./กสจ. 4.2 ภาษี - เข้าบัญชีรายได้แผ่นดิน(กรมสรรพากร) 4.3 หนี้ - เข้าบัญชีส่วนราชการ 4.4 เงินเดือน/ค่าจ้างสุทธิ - เข้าบัญชีผู้มีสิทธิ

24 วันรับเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ
3 วัน ก่อนวันทำการสุดท้าย ของเดือน

25 ส่วนราชการจะดำเนินการอย่างไรเมื่อได้รับรายการหนี้
1 หนี้บุคคลที่สาม 1.1 ชำระเจ้าหนี้ 1.2 ส่งให้หน่วยงานในสังกัดเพื่อนำไปชำระหนี้ 2 หนี้ทางราชการให้นำส่งคลังในระบบ GFMIS

26 การให้บริการของระบบ 3 การจัดทำข้อมูลการหักภาษี ณ ที่จ่ายส่งกรม สรรพากร
4 การจัดส่งเงินและข้อมูลให้ กบข/กสจ 1 หนังสือรับรองการจ่ายเงิน (Slip) 2 หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย

27 เงินเดือน / ค่าจ้างประจำ
โครงการจ่ายตรงเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ ผู้รับ เงินเดือน / ค่าจ้างประจำ หนี้ สหกรณ์ เจ้าหนี้ ส่วนราชการ (ภูมิภาค) ภาษี ส่วนราชการ (ส่วนกลาง) กรมบัญชีกลาง สหกรณ์ เจ้าหนี้ กบข. กสจ. ข้อมูล เงินเดือน / ค่าจ้างประจำ รายการหนี้ กบข/กสจ ภาษี วันที่ 12 ของเดือน

28 แนวทางการดำเนินการเบิกจ่ายเงินเดือนและ ค่าจ้างประจำของส่วนราชการ
กรมบัญชีกลาง กรมบัญชีกลางโอนย้ายข้อมูล ไม่ถูกต้อง ระบบฐานข้อมูล บุคลากร ของกรมบัญชีกลาง เดือนแรกของการเริ่มโครงการฯ 1. บันทึกข้อมูลของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ - เลขที่บัญชีเงินฝากธนาคาร - เลขประจำตัวประชาชน - การลดหย่อนภาษี - ที่อยู่ สำหรับการออกหนังสือรับรองภาษี 2. บันทึกการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบและไม่มีผลกระทบ เช่น คำสั่งบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนระดับ/ชั้นยศ ลดขั้น ไล่ออก ลาออก 3. บันทึกรายการขอเบิกและหักหนี้ 4. ประมวลผลเพื่อออกรายงาน พร้อมทั้งตรวจสอบและ ส่งเอกสารการขอเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำในแต่ละเดือน ให้กรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 12 ของเดือน ซึ่งประกอบด้วย - หนังสือนำส่งรายละเอียดขอเบิกจ่ายเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ ประจำเดือน………… - รายละเอียดการแจ้งรายการขอเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ และเงินอื่นๆ ประจำเดือน ……………...พ.ศ…… เดือนต่อๆไป การเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ ในเดือนต่อๆไป ให้ดำเนินการ เช่นเดียวกับการดำเนินงาน เช่นเดียวกับข้อ 2-4 ในเดือนแรก กรณีมีการเปลี่ยนแปลงบัญชีเงินฝากธนาคาร ของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ ให้ส่วนราชการบันทึกการเปลี่ยนแปลง ในระบบการจ่ายเงินเดือน/ค่าจ้างประจำของกรมบัญชีกลาง และตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมแจ้งกรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 17 ของเดือน ที่มีการบันทึกการเปลี่ยนแปลง

29 แนวทางการดำเนินการเบิกจ่ายเงินเดือนและ ค่าจ้างประจำของกรมบัญชีกลาง
ส่วนราชการ กรมบัญชีกลาง กรมบัญชีกลางโอนย้ายข้อมูล ตรวจสอบ เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้มีสิทธิ ภาษี กบข./ กสจ. เงินเดือน/ค่าจ้างประจำสุทธิ หนี้บุคคลที่ 3 ไม่ถูกต้อง อนุมัติ สั่งจ่าย ถูกต้อง ธนาคารรัฐวิสาหกิจ/ ธนาคารพาณิชย์ ส่งข้อมูล การโอนเงิน กบข. กสจ. กรมสรรพากร ส่วนราชการ

30 ตารางแสดงอัตราค่าธรรมเนียม การโอนเงินโครงการจ่ายตรงฯ
ของกรมบัญชีกลาง

31 การโอนเงินระบบ In-House
รายชื่อธนาคาร อัตราค่าธรรมเนียม (บาท/รายการ) ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ยกเว้น* ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารซีเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารธนชาติ จำกัด (มหาชน) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย ยกเว้น ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ** 5.00 * ยกเว้นเฉพาะการโอนในครั้งแรกของเดือน หากมีการโอนในครั้งต่อไปภายในเดือนนั้นๆ คิดค่าธรรมเนียมรายการละ 5 บาท ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) คิดค่าธรรมเนียมรายการละ 5 บาท ใช้ประมาณเดือนกรกฎาคม 2549 *

32 รายชื่อธนาคาร อัตราค่าธรรมเนียม (บาท/รายการ)
การโอนเงินระบบ SMART รายชื่อธนาคาร อัตราค่าธรรมเนียม (บาท/รายการ) ธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส์ (ไทย) จำกัด (มหาชน) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารสแตนดาร์ด ชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน) 8.00

33 ข้อสังเกต/ ปัญหาที่พบบ่อย

34 ข้อสังเกตของบัญชีเงินฝากธนาคาร
3 ห้ามใช้ประเภทเงินฝากประจำ 4 ห้ามปิดบัญชีช่วงที่จะโอนเงินเข้าบัญชี 1 ไม่จำกัด ธนาคาร / สาขา / จังหวัด 2 ใช้เฉพาะออมทรัพย์/สะสมทรัพย์/ กระแสรายวัน

35 การป้องกันปัญหาเงินไม่เข้าบัญชี
3 ใช้ บริการสม่ำเสมอเพื่อให้บัญชีเคลื่อนไหว 4 ตรวจสอบเลขที่บัญชีให้ถูกต้องก่อนนำข้อมูลเข้าระบบ 1 ห้ามปิดบัญชีช่วงโอนเงิน 2 ไม่มี การอายัดบัญชี

36 ข้อมูลการหักลดหย่อนภาษี
1 กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน เช่น การหักลดหย่อนบุตร ดอกเบี้ยธนาคาร เงินบริจาค เป็นต้น 2 การแก้ไขข้อมูลการหักลดหย่อนภาษีให้แจ้ง ส่วนราชการต้นสังกัด

37 ระบบจ่ายตรงในปัจจุบัน
ใช้ Token key การเข้าสู่ระบบ การทำงาน วิธีการทำงาน ส่วนราชการทำงานผ่านระบบ Internet ระบบการทำงาน ใช้ระบบ Web Application ทั้งข้าราชการและลูกจ้างประจำ

38 ระบบงานตามโครงการจ่ายตรงเงินเดือน และค่าจ้างประจำ
ระบบข้อมูลพื้นฐาน 1 ระบบทะเบียนประวัติข้าราชการและลูกจ้างประจำ 2 ระบบบัญชีถือจ่ายข้าราชการ / ลูกจ้างประจำ 3 ระบบการจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างประจำ 4 ระบบจัดเตรียมเงินสวัสดิการและหนี้สิน 5

39 ระบบการจ่ายเงินเดือน
รูปแบบการประมวลผลการทำงาน 1 รวมศูนย์การประมวลผล 2 กระจายหน่วยงานประมวลผล

40 รูปแบบการประมวลผลการทำงาน
การทำงานในลักษณะกระจายหน่วยประมวลผล หรือแบบมีหน่วยประมวลผลย่อย หน่วยย่อย บันทึกคำสั่ง หน่วยย่อย บันทึกคำสั่ง หน่วยเบิก ประมวลผลย่อย หน่วยเบิก ประมวลผลย่อย กรมบัญชีกลาง หน่วยย่อย บันทึกคำสั่ง ส่วนราชการ ต้นสังกัด เบิกจ่าย หน่วยย่อย บันทึกคำสั่ง หน่วยเบิก ประมวลผลย่อย หน่วยเบิก ประมวลผลย่อย

41 ขั้นตอนการทำงานรายเดือนระบบการจ่าย
เตรียมข้อมูลก่อนการประมวลผลเงินเดือนและค่าจ้างประจำ 1 หยุดบันทึกคำสั่ง รับรายงาน/เอกสาร และตรวจสอบ 2 8 ตรวจสอบรายการ เงินแต่ละประเภท และรับสุทธิ จากรายงาน 3 คำนวณบัตร/ประมวลผลเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ 7 แก้ไขรายการ ที่จอภาพรายการจ่ายเงินเดือนหรือค่าจ้าง 4 ตรวจสอบรายการ ที่คำนวณได้จากรายงาน 5 นำ Text File หนี้และสหกรณ์เข้าระบบงาน 6 ตรวจสอบรายการที่นำเข้าระบบงานจากรายงาน

42 1.การเตรียมข้อมูลก่อนการประมวลผลเงินเดือน
รายการ หักลดหย่อน 2 ข้อมูลเงินเพิ่ม เงินหัก หนี้

43 4. ตรวจสอบรายการที่คำนวณได้จากรายงาน
รายละเอียด และสรุปการจ่าย 1 รายงาน รายการ เงินเพิ่ม-เงินลด (ข้อมูลการจ่ายเงินเดือน) 2 รายงานรายละเอียดการจ่ายเงินเดือนของผู้มีสถานภาพงดจ่าย 3 ตรวจสอบข้อผิดพลาดของ รายการจ่ายเงินเดือน 4

44 ข้อมูลหนี้สหกรณ์ (COOP.DAT)
5. นำ Text File หนี้ และสหกรณ์เข้าระบบงาน เงินเพิ่ม (NONTXT_ INCREASE.TXT) หนี้รายเดือน (LOAN.TXT) 1 ข้อมูลหนี้สหกรณ์ (COOP.DAT) 2

45 ส่วนที่ 3 การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ
ส่วนที่ 3 การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ

46 การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐในรอบ 1 ปี
บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสารที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 1 มีนาคม 1 ออกรายงาน โควตา ณ วันที่ 1 มีนาคม 2 9 เลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 10 ออกรายงานการเลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 8 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสารที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 30 กันยายน 3 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสารที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 4 เลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 เมษายน 7 ออกรายงานโควตา ณ วันที่ 1 กันยายน 5 ออกรายงานการเลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 เมษายน 6 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสารที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 1 กันยายน

47 ฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ณ วันที่ 1 ตุลาคม
ฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ณ วันที่ 1 ตุลาคม

48 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
STEP 1 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 1 มีนาคม

49 ออกรายงาน PREQUOTA ณ วันที่ 1 มีนาคม ประเภทบุคลากร ข้าราชการทหาร
STEP 2 ออกรายงาน PREQUOTA ณ วันที่ 1 มีนาคม ประเภทบุคลากร ข้าราชการทหาร ลูกจ้างประจำ การแบ่งกลุ่ม แบ่งกลุ่มตำแหน่งตามที่ กระทรวงกลาโหมกำหนด ไม่มีการแบ่งกลุ่ม โควตา 30 % ของจำนวนข้าราชการ ที่มีผู้ครอง ณ วันที่ 1 มีนาคม 15 %ของจำนวนลูกจ้างประจำที่มีผู้ครอง ณ วันที่ 1 มีนาคม

50 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
STEP 3 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 31 มีนาคม

51 เลื่อนเงินเดือน /ค่าจ้างประจำ ณ วันที่ 1 เมษายน
STEP 4 เลื่อนเงินเดือน /ค่าจ้างประจำ ณ วันที่ 1 เมษายน ประเภทบุคลากร ข้าราชการทหาร ลูกจ้างประจำ การเลื่อนเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ เลื่อนเป็นขั้น (0.5 ขั้น/1 ขั้น)

52 ออกรายงาน REPSAMAN (รายละเอียดการเลื่อนเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ)
STEP 5 ออกรายงาน REPSAMAN (รายละเอียดการเลื่อนเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ) ณ วันที่ 1 เมษายน ประเภทบุคลากร ข้าราชการทหาร ลูกจ้างประจำ จำนวนผู้ได้รับการเลื่อนขั้นกรณีพิเศษไม่เกิน 30 % ของจำนวนข้าราชการ ที่มีผู้ครอง ณ วันที่ 1 มีนาคม จำนวนผู้ได้รับการเลื่อนขั้นกรณีพิเศษไม่เกิน 15 % ของจำนวนลูกจ้างประจำที่มี ผู้ครอง ณ วันที่ 1 มีนาคม

53 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
STEP 6 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 1 กันยายน

54 ออกรายงาน PREQUOTA ณ วันที่ 1 กันยายน
STEP 7 ออกรายงาน PREQUOTA ณ วันที่ 1 กันยายน ประเภทบุคลากร ข้าราชการทหาร ลูกจ้างประจำ การแบ่งกลุ่ม แบ่งกลุ่มตำแหน่งตามที่ กระทรวงกลาโหมกำหนด ไม่มีการแบ่งกลุ่ม โควตา 6 % ของจำนวนเงินเดือนรวม ของข้าราชการที่มีผู้ครอง ณ วันที่ 1 กันยายน 6 % ของจำนวนค่าจ้างรวมของลูกจ้างประจำที่มีผู้ครอง

55 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
STEP 8 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 30 กันยายน

56 เลื่อนเงินเดือน /ค่าจ้างประจำ ณ วันที่ 1 ตุลาคม
STEP 9 เลื่อนเงินเดือน /ค่าจ้างประจำ ณ วันที่ 1 ตุลาคม ประเภทบุคลากร ข้าราชการทหาร ลูกจ้างประจำ การเลื่อนเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ เลื่อนเป็นขั้น (0.5 ขั้น/1 ขั้น/1.5 ขั้น)

57 ออกรายงาน REPSAMAN และ PREALLOW ณ วันที่ 1 ตุลาคม
STEP 10 ออกรายงาน REPSAMAN และ PREALLOW ณ วันที่ 1 ตุลาคม ประเภทบุคลากร ข้าราชการทหาร ลูกจ้างประจำ 1. จำนวนผู้ได้รับการเลื่อนกรณีพิเศษทั้งปี 2 ขั้น ไม่เกินโควตา ณ วันที่ 1 มีนาคม (30% ของจำนวนข้าราชการ ที่มีผู้ครอง ณ วันที่ 1 มีนาคม) 2. จำนวนเงินเลื่อนขั้นทั้งปีไม่เกิน 6 % ของอัตราเงินเดือนข้าราชการ ณ วันที่ 1 กันยายน 1. จำนวนผู้ได้รับการเลื่อนกรณีพิเศษทั้งปี 2 ขั้น ไม่เกินโควตา ณ วันที่ 1 มีนาคม (15%ของจำนวนลูกจ้างประจำที่มีผู้ครอง ณ วันที่ 1 มีนาคม) 2. จำนวนเงินเลื่อนขั้นทั้งปีไม่เกิน 6 % ของอัตราค่าจ้างประจำ ณ วันที่ 1 กันยายน

58 ส่วนที่ 4 ข้อมูลตั้งฐานเพื่อการเบิกจ่าย สำหรับส่วนราชการที่เตรียมเข้าสู่โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ

59 รายละเอียดของข้อมูลตั้งฐาน เพื่อการเบิกจ่ายตามโครงการจ่ายตรงและค่าจ้างประจำ
โครงสร้างองค์กร ข้อมูลอัตราและผู้ครอง ข้อมูลธนาคาร กบข./กสจ./สหกรณ์ และการลดหย่อนภาษี รายการเงินเพิ่ม-เงินลด รายได้ภาษี กบข./กสจ. สะสม ข้อมูลที่อยู่ ข้อมูลครอบครัว

60 โครงสร้างองค์กร รหัสหน่วยงาน
Text รหัสหน่วยงาน วันที่ได้รับอนุมัติโครงสร้างครั้งหลังสุดของข้อมูลที่ส่ง ชื่อเต็มหน่วยงาน ชื่อย่อหน่วยงาน รหัสหน่วยงานตาม GFMIS (Company Code) รหัสพื้นที่ตามกรมบัญชีกลาง รหัสเขตธุรกิจ/ประเทศ (Business Code) รหัสส่วนราชการผู้เบิก (Vendor Code) การบริหารราชการ รหัสศูนย์ต้นทุน (Cost Center) รหัสกิจกรรม (Functional Code) รหัสยุทธศาสตร์ รหัสบัญชี กระทรวงที่มีสำนักงานรัฐมนตรี

61 ข้อมูลอัตราและผู้ครอง (1)
Text เลขที่ตำแหน่ง รหัสประเภทข้าราชการ รหัสประเภทสังกัด รหัสหน่วยงาน/รหัสสังกัด รหัสตำแหน่งสายบริหาร รหัสตำแหน่งสายงาน รหัสประเภทตำแหน่ง รหัสพื้นที่ ระดับ อัตราเงินเดือน/อัตราค่าจ้างประจำ อาศัยเบิก เงินเบิกลด เงินคงเบิก ประเภทเงินประจำตำแหน่ง เงินประจำตำแหน่ง/วิทยฐานะ อาศัยเบิกเงินประจำตำแหน่ง วันที่มีผลเงินปจต./วิชาการ/วิทยฐานะมีผล วันที่ได้รับเงินปจต./วิชาการ/วิทยฐานะมีผล วันที่ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษมีผล(ต.ข.ท. ปจต./ต.ข. 8-8ว.) เลขประจำตัวประชาชนของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ เลขประจำตัวบุคลากร รหัสคำนำหน้า ชื่อ นามสกุล

62 ข้อมูลอัตราและผู้ครอง (2)
Text สถานะการเบิกจ่ายเงินเดือน ตารางเงินเดือน ขั้นของอัตราเงินเดือน การเลื่อนขั้น อัตราร้อยละที่ได้เลื่อน เลขที่คำสั่ง วันที่ลงคำสั่ง วันที่คำสั่งมีผลบังคับ วันที่เกษียณอายุราชการ หมายเหตุของตำแหน่ง หมายเหตุบุคคล ชื่อภาษาอังกฤษ นามสกุลภาษาอังกฤษ วัน เดือน ปีเกิด วันที่บรรจุตามคำสั่ง/วันที่บรรจุกลับ วันที่เริ่มปฏิบัติราชการ วันล้วง สถานภาพ สัญชาติ เชื้อชาติ ศาสนา สถานภาพสมรส การลาไปประกอบพิธีฮัจจ์ การลาอุปสมบท

63 ข้อมูลธนาคาร กบข./กสจ.,สหกรณ์ และการลดหย่อนภาษี
Text เลขประจำตัวประชาชนของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ ชื่อ นามสกุล รหัสธนาคาร รหัสสาขาธนาคาร เลขที่บัญชีธนาคาร รหัสสหกรณ์ เลขที่สมาชิกสหกรณ์ การเป็นสมาชิกกบข./กสจ. วันที่เริ่มต้นการเป็นสมาชิกกบข./กสจ. การสะสมเข้ากบข./กสจ. วันที่เริ่มสะสมเข้า กบข. อัตราร้อยละการสะสมเข้ากบข./กสจ. (กม.) การสะสมส่วนเพิ่ม อัตราร้อยละการสะสมเข้ากบข./กสจ. (สะสมส่วนเพิ่ม) วันที่เริ่มสะสมส่วนเพิ่ม กบข. เบี้ยประกันชีวิต (กรมธรรม์ 10 ปีขึ้นไป) ค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) ค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนระยะยาว (LTF) ดอกเบี้ยเงินกู้เกี่ยวกับที่อยู่อาศัย อุปการะเลี้ยงดูคนพิการหรือคนทุพพลภาพ เบี้ยประกันสุขภาพบิดาของผู้มีเงินได้ เบี้ยประกันสุขภาพมารดาของผู้มีเงินได้ เบี้ยประกันสุขภาพบิดาของคู่สมรส เบี้ยประกันสุขภาพมารดาของคู่สมรส เงินบริจาคสนับสนุนการศึกษา เงินสนับสนุนการกีฬา เงินบริจาค เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นจากการซื้ออสังหาริมทรัพย์

64 รายการเงินเพิ่ม-เงินลด
Text เลขประจำตัวประชาชนของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ รหัสเงินเพิ่ม/ลด จำนวนเงิน วันที่เริ่มต้น วันที่สิ้นสุด เลขที่คำสั่ง คำสั่งลงวันที่ หมายเหตุ

65 รายได้สะสม ภาษีสะสม กบข./กสจ สะสม
Text ปีที่ตั้งฐาน เดือนที่ตั้งฐาน เลขประจำตัวประชาชนของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล รายได้สะสม ภาษีสะสม เงินสะสมกบข./กสจ. เงินสมทบกบข./กสจ. เงินชดเชย กบข. เงินสะสมส่วนเพิ่มกบข.

66 ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ เลขประจำตัวประชาชนของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ
Text เบอร์โทรศัพท์ ที่อยู่ปัจจุบัน ที่อยู่ตามภูมิลำเนาเดิม ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน ที่อยู่ใบรับรองการหักภาษี ชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ของบุคคลผู้ที่ติดต่อได้กรณีฉุกเฉิน เลขประจำตัวประชาชนของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ ชื่อ นามสกุล บ้านเลขที่ หมู่ที่/หมู่บ้าน ถนน/ตรอก/ซอย รหัสจังหวัด รหัสอำเภอ รหัสตำบล รหัสไปรษณีย์

67 ข้อมูลครอบครัว เลขประจำตัวประชาชนของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ
Text เลขประจำตัวประชาชนของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ ชื่อ นามสกุล ความสัมพันธ์บุคคลในครอบครัว ประเภทเลขประจำตัวของบุคคลในครอบครัว เลขประจำตัวประชาชนของบุคคลในครอบครัว รหัสคำนำหน้าชื่อ ชื่อของบุคคลในครอบครัว นามสกุลของบุคคลในครอบครัว วันเดือนปีเกิดของบุคคลในครอบครัว สถานภาพการสมรสของบุคคลในครอบครัว สถานภาพการมีชีวิตของบุคคลในครอบครัว วันที่เสียชีวิต/หรือศาลสั่งเป็นคนสาบสูญ/หรือศาลสั่งเป็นคนไร้ความสามารถ อาชีพของบุคคลในครอบครัว สิทธิการหักลดหย่อนของบุคคลในครอบครัว ประเภทการลดหย่อนของบุตร การศึกษา ศึกษาอยู่ในระดับ สิทธิการเบิกค่าเล่าเรียน สิทธิการเบิกค่ารักษาพยาบาลของบุคคลในครอบครัว

68 สอบถาม

69 สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ
ขอบคุณค่ะ สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ


ดาวน์โหลด ppt โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google