ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8 ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย สมจิต ไชยมุง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
2
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8 ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย 2. เพื่อการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย
3
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโยลีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา จำนวน 63 คน ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกัน การกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างตามสะดวก ตัวแปรต้น วิธีการสอนโดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย(Small Group Discussion) ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 8 และความพึงพอใจของนักศึกษาจากการใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย
4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8 ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูล ได้ดังนี้ 1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการเรียน ของนักเรียนที่เรียน โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย วิชาวิทยาศาสตร์ 8 ตามตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงผลคะแนนก่อนเรียนกับหลังเรียน ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ที่เรียนโดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย วิชาวิทยาศาสตร์ 8
5
การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน)
ลำดับ การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) การพัฒนาผลการเรียน ก่อนเรียน ร้อยละ(%) หลังเรียน คะแนน 1 15 50 25 83.33 10 33.33 2 11 36.67 22 73.33 3 12 40 20 66.67 8 26.67 4 6 19 63.33 13 43.33 5 18 76.67 7 23.33 9 24 80 23
6
การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน)
ลำดับ การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) การพัฒนาผลการเรียน ก่อนเรียน ร้อยละ(%) หลังเรียน คะแนน 11 14 46.67 23 76.67 9 30 12 36.67 22 73.33 13 10 33.33 20 66.67 19 63.33 15 18 26.67 16 60 17 50 56.67 2 6.67 5 16.67
7
การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน)
ลำดับ การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) การพัฒนาผลการเรียน ก่อนเรียน ร้อยละ(%) หลังเรียน คะแนน 21 8 26.67 25 83.33 17 56.67 22 70 13 43.33 23 9 30 20 66.67 11 36.67 24 12 40 80 73.33 26 27 76.67 28 10 33.33 29 14 46.67
8
การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน)
ลำดับ การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) การพัฒนาผลการเรียน ก่อนเรียน ร้อยละ(%) หลังเรียน คะแนน 31 9 30 21 70 12 40 32 33.33 33 20 66.67 11 36.67 34 17 56.67 8 26.67 35 18 60 36 10 7 23.33 37 38 13 43.33 19 63.33 6 39 15 50 4 13.33 14 46.67 5 16.67
9
การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน)
ลำดับ การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) การพัฒนาผลการเรียน ก่อนเรียน ร้อยละ(%) หลังเรียน คะแนน 41 11 36.67 20 66.67 9 30 42 43 12 40 18 60 6 44 7 23.33 45 10 33.33 46 13 43.33 22 73.33 47 8 26.67 14 46.67 48 23 76.67 15 50 49 21 70
10
การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน)
ลำดับ การประเมินผล (เต็ม 30 คะแนน) การพัฒนาผลการเรียน ก่อนเรียน ร้อยละ(%) หลังเรียน คะแนน 51 7 23.33 22 73.33 15 50 52 9 30 23 76.67 14 46.67 53 16 53.33 54 11 36.67 20 66.67 55 10 33.33 56 57 12 40 21 70 58 19 63.33 59 8 26.67 60 44.67 61 13 43.33 62 63 36.37 รวม 651 34.44 1307 69.15 656 34.71 10.33 20.75 10.41
11
สรุปผลการวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8 ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย สรุปผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการเรียน ของนักเรียนที่เรียน โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย วิชาวิทยาศาสตร์ 8 พบว่า นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ คิดเป็นร้อยละ สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ คิดเป็นร้อยละ ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าเท่ากับ คิดเป็นร้อยละ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า การใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อยสามารถส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น
12
2. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลังการใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย วิชาวิทยาศาสตร์ 8 พบว่า นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย วิชาวิทยาศาสตร์ 8 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.09 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า มีโอกาสอธิบายหรืออภิปรายเนื้อหาในกลุ่มทำให้เข้าใจมากขึ้นโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย ผู้เรียนให้ความช่วยเหลือและให้ความร่วมมือกันภายในกลุ่ม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย พึงพอใจและยอมรับการประเมินผลจากครูและเพื่อนร่วมชั้นเรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.36
15
ข้อเสนอแนะ 1. ควรทำวิจัยเพื่อศึกษาผลการสอนที่ใช้กิจกรรมอภิปรายกุ่มย่อยจากวิชาวิทยาศาสตร์ 8 ในวิชาอื่น ๆ บ้างให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น 2. ควรมีการวิจัยด้วยการสอนแบบกิจกรรมอภิปรายกลุ่มย่อย วิชาวิทยาศาสตร์ 8 โดยใช้สื่อการสอนอื่น ๆ ที่หลากหลายมากขึ้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาสนใจการเรียนมากยิ่งขึ้น 3. ในรายวิชาต่างๆควรใช้กิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย สื่อที่มีความทันสมัยและมีความหลากหลายเพื่อเสริมสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้และเป็นการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและมีความพึงพอใจของผู้เรียนด้วย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.