ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3
การเขียนแบบงาน (working drawings)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเขียนแบบงาน (working drawings)
4
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบงาน (working drawings) เป็นการเขียนแบบสำหรับนำไปสร้าง ชิ้นงานที่ออกแบบ โดยประกอบด้วยภาพแบบแกนตั้งฉาก (orthographic projection) ด้านต่างๆ แบบงานแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ แบบรายละเอียด (detail drawings) ซึ่ง แสดงข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการสร้างชิ้นส่วน และ แบบชุดประกอบ (assembly drawings) ซึ่งแสดงข้อมูลที่จำเป็นในการประกอบชิ้นส่วน
5
แบบรายละเอียด (detail drawings)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบรายละเอียด (detail drawings)
6
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบรายละเอียดให้ข้อมูลที่สมบูรณ์สำหรับการสร้างชิ้นส่วน โดยข้อมูล เหล่านี้แบ่งเป็น 3 หัวข้อ คือ รูปร่าง ขนาด และข้อมูลจำเพาะ (specifications) อาจเป็นภาพแบบ 3 มิติ แบบแกนตั้งฉาก หรือ อาจเขียนภาพตัด ภาพ ช่วย ภาพขยาย พร้อมการบอกขนาด เพื่อช่วยให้การอธิบายรูปแบบ ของชิ้นงานได้อย่างชัดเจน อาจเขียนข้อมูลจำเพาะ เช่น ชนิดของวัสดุ ขบวนการผลิต การแต่งผิว พิกัดเผื่อ จำนวนที่ต้องการ
7
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบรายละเอียด
8
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบรายละเอียด
9
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบรายละเอียดที่แสดงในแผ่นแบบที่แยกกัน หรือ อาจจะเขียนรวมใน กระดาษแผ่นใหญ่ การให้รายละเอียดชิ้นส่วนมักจะจัดกลุ่มโดยสัมพันธ์ กับหน่วยงานที่จะผลิตชิ้นส่วน เช่น ชิ้นส่วนที่เป็นไม้ ไฟเบอร์ และ โลหะ แบบรายละเอียดหลายชุด (multiple detail drawings)
10
แบบรายละเอียดหลายชุด
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบรายละเอียดหลายชุด
11
แบบรายละเอียดหลายชุด
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบรายละเอียดหลายชุด
12
แบบชุดประกอบ (assembly drawings)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบ (assembly drawings)
13
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบเครื่องจักรกลและกลไกประกอบด้วยชิ้นส่วนจำนวนมาก แบบที่ แสดงผลิตภัณฑ์โดยรวมชิ้นส่วนทั้งหมด เรียกว่า แบบชุดประกอบ วัตถุประสงค์หลักของแบบประกอบ คือ การแสดงความสัมพันธ์ของ ส่วนประกอบต่างๆ รูปร่างที่สมบูรณ์ของผลิตภัณฑ์ ข้อมูลที่จำเป็น สำหรับการประกอบ คำแนะนำการใช้งาน และ ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ การออกแบบ แบบชุดประกอบจะมีรูปแบบที่แตกต่างกันทั้งในด้านจำนวนชิ้นส่วนและ ข้อมูล ขึ้นกับลักษณะของเครื่องจักรกล หรือ กลไก
14
แบบชุดประกอบงานออกแบบ (design assembly drawings)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบงานออกแบบ (design assembly drawings) เป็นแบบชุดประกอบหรือแผนผังการออกแบบ เพื่อแสดงสมรรถนะ รูปร่าง การประกอบของชิ้นส่วน รายละเอียด โดยกำกับหมายเลข ชิ้นส่วนต่างๆ เพื่อช่วยให้เข้าใจความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่างๆ และ รูปร่างที่สมบูรณ์ของผลิตภัณฑ์
15
แบบชุดประกอบงานออกแบบ
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบงานออกแบบ
16
แบบชุดประกอบงานติดตั้ง (installation assembly drawings)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบงานติดตั้ง (installation assembly drawings) เป็นแบบชุดประกอบที่ใช้เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถประกอบชิ้นส่วนได้ โดยไม่จำเป็นต้องอ่านแบบที่มีความซับซ้อน โดยอาศัยแบบชุดประกอบ 3 มิติ เพื่อให้เข้าใจได้ง่าย
17
แบบชุดประกอบงานติดตั้ง
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบงานติดตั้ง
18
แบบชุดประกอบงานแคตตาล็อค (assembly drawings for catalogs)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบงานแคตตาล็อค (assembly drawings for catalogs) เป็นแบบชุดประกอบพิเศษจัดทำเพื่อเป็นแคตตาล็อคของบริษัท โดยจะ แสดงเฉพาะรายละเอียดและขนาดที่ต้องการดึงดูดความสนใจผู้ซื้อ
19
แบบชุดประกอบงานแคตตาล็อค
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบงานแคตตาล็อค
20
แบบชุดประกอบแยกส่วน (exploded assembly drawings)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบแยกส่วน (exploded assembly drawings) ในกลายกรณีที่จะต้องใช้ผู้ที่ไม่ชำนาญในการอ่านแบบวิศวกรรม การใช้ แบบประกอบแยกส่วนก็จะทำให้สามารถเข้าใจและปฏิบัติงานประกอบ ชิ้นส่วนได้ง่ายขึ้น การเขียนแบบประกอบแยกส่วนจะจัดชิ้นส่วนต่างๆ ให้อยู่ในแนวการ ประกอบ และอาจมีการแรเงาเพื่อให้ภาพดูเสมือนจริงมากขึ้น
21
แบบชุดประกอบแยกชิ้นส่วน
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบแยกชิ้นส่วน
22
แบบชุดประกอบแยกชิ้นส่วน
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบแยกชิ้นส่วน
23
รายการวัสดุ (item list)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รายการวัสดุ (item list) ใช้แสดงรายการของชิ้นส่วนทั้งหมดที่แสดงในแบบประกอบหรือแบบ รายละเอียด บางครั้งอาจจะเขียนรายการวัสดุแยกต่างหาก เพื่อความ สะดวกในการใช้งานและทำสำเนา ถ้าผู้จัดซื้อจะใช้รายการวัสดุในการสั่งซื้อ รายการวัสดุควรจะแสดงขนาด ของวัตถุดิบ มากกว่าการแสดงขนาดชิ้นส่วนที่ต้องทำ รายการชิ้นส่วนจะอยู่ด้านล่างของแผ่นแบบและควรจะอ่านจากล่างขึ้น บน และถ้ารายการชิ้นส่วนอยู่ด้านบนของแผ่นแบบ ควรอ่านแบบจาก บนลงล่าง เพื่อให้้สามารถเพิ่มรายการชิ้นส่วนได้ภายหลัง
24
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตารางรายการวัสดุ
25
แบบชุดประกอบรวมรายละเอียด
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบรวมรายละเอียด ในกรณีที่เป็นผลิตภัณฑ์แบบง่ายๆ เช่น ชิ้นส่วนของเฟอร์นิเจอร์ ซึ่งมี ชิ้นส่วนน้อยและรูปร่างไม่ซับซ้อน จึงสามารถที่จะแสดงขนาดและข้อมูล ต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับสร้างแต่ละชิ้นส่วน โดยอาจจะมีการเขียนภาพ ขยายแบบ 3 มิติเพิ่มเติม
26
แบบชุดประกอบรวมรายละเอียด
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบรวมรายละเอียด
27
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบย่อย ในการประกอบผลิตภัณฑ์ที่มีชิ้นส่วนย่อยจำนวนมาก เช่น รถยนต์ โทรทัศน์ จะมีการใช้ชิ้นส่วนที่ประกอบมาก่อนแล้ว ในการประกอบเป็น ผลิตภัณฑ์สุดท้าย ชิ้นส่วนที่ประกอบมาก่อนแล้ว แสดงได้ด้วยแบบชุดประกอบย่อย เช่น แบบชุดประกอบระบบถ่ายทอดกำลังของรถยนต์ และแบบชุดประกอบ ชุดแปลงไฟฟ้าของโทรทัศน์
28
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แบบชุดประกอบย่อย
29
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปฏิบัติการครั้งที่ 8
30
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จงเขียนแบบชุดประกอบของ Roller Bracket จากชิ้นส่วนด้านล่างลงในกระดาษ A3 โดยให้ลงขนาดที่สำคัญของชุดประกอบด้วย
31
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
32
ในครั้งหน้า ให้ นศ. ทุกคนนำรหัสเข้าคอมพิวเตอร์มาด้วย การเรียนการสอน โดยใช้โปรแกรม AutoCAD 2007 บรรยาย ห้องเดิม ปฎิบัติการ ห้อง วศ 318 นั่งตามหมายเลขเครื่องที่กำหนดให้เท่านั้น
33
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการบรรยายครั้งที่ 8
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.