งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
การพัฒนาคุณภาพ คปสอ./รพ.สต. (คปสอ./รพ.สต.ติดดาว) เพื่อเข้าสู่ระดับเขต ปี ๒๕๕๙ กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

2 พันธกิจของผู้บริหารหน่วยงานสาธารณสุข
1 จังหวัด 20 อำเภอ 156 ตำบล 1,880 หมู่บ้าน 467,613 ครัวเรือน ประชาชน 1,559,859 คน สสจ. จัดการ คปสอ. ระดับการจัดการ Goal รพ.สต. นสค. Goal Setting สสจ.อุดรธานี ประเด็นยุทธศาสตร์เขตสุขภาพที่8 ปัญหาสุขภาพพื้นที่

3 ผลการดำเนินงาน ปี 2557 – 2558 (ระดับเขต)
ลำดับ อำเภอ หน่วยปฐมภูมิ หน่วยปฐมภูมิที่ผ่านการรับรอง 5 ดาว ระดับเขต ปีที่ได้รับรอง คปสอ. 5 ดาว ทั้งหมด 2557 2558 รวม ร้อยละ 1 เมือง 38 7 10 17 44.74 2 เพ็ญ 15 4 8 53.33  ยังไม่ได้รับรอง 3 หนองวัวซอ 12 66.67 สร้างคอม 6 50.00 ยังไม่ได้รับรอง  5 กุมภวาปี 19 63.16 ประจักษ์ 20.00 ศรีธาตุ 13 0.00  3 ดาว วังสามหมอ 11 9.09   ยังไม่ได้รับรอง 9 โนนสะอาด    ยังไม่ได้รับรอง หนองแสง

4 ผลการดำเนินงาน ปี 2557 – 2558 (ระดับเขต)
ลำดับ อำเภอ หน่วยปฐมภูมิ หน่วยปฐมภูมิที่ผ่านการรับรอง 5 ดาว ระดับเขต ปีที่ได้รับรอง คปสอ. 5 ดาว ทั้งหมด 2557 2558 รวม ร้อยละ 11 หนองหาน 15 2 7 9 60.00 12 กู่แก้ว 6 1 16.67   ยังไม่ได้รับรอง 13 บ้านดุง 16 12.50 4 ดาว  14 ทุ่งฝน 0.00  ยังไม่ได้รับรอง ไชยวาน 5 40.00 พิบูลย์รักษ์ 17 บ้านผือ 21 4 42.86 18 น้ำโสม 10 50.00 19 นายูง 20 กุดจับ 41.67 241 30 57 87 36.10 45.00

5 เป้าประสงค์ เพื่อพัฒนา คปสอ.และรพ.สต. ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์การจัดการสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการสุขภาพในระดับอำเภอ เชื่อมโยงถึงระดับตำบล หมู่บ้าน ครัวเรือนและประชาชน เพื่อสนับสนุนความสำเร็จเชิงประจักษ์ของงานนโยบาย และประเด็นปัญหาของพื้นที่

6 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
เป้าหมาย 1. สถานการณ์ 2. ตัวชี้วัด เป้าหมาย จังหวัดอุดรธานี มี คปสอ.ที่ผ่านการรับรอง คปสอ.ระดับ 5 ดาว จำนวน 9 อำเภอจากทั้งหมด 20 อำเภอ (ร้อยละ 45) และมีรพ.สต.ผ่านการรับรองระดับ 5 ดาวจำนวน 87 แห่ง จาก 241 แห่ง (ร้อยละ 36.10) ซึ่งในส่วนของDHS ผ่านเกณฑ์คุณภาพ (ระดับ 3 ขึ้นไป) ทุกอำเภอ : ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชน และท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ มีคณะกรรมการพัฒนาระบบสุขอำเภอซึ่งประกอบด้วยทุกภาคส่วนทั้งสาธารณสุข , หน่วยราชการอื่น , อปท.,อสม., ภาคีเครือข่ายสุขภาพ และอื่นๆ เครือข่ายสุขภาพอำเภอมีการพัฒนา ODOP อย่างน้อย 3 เรื่อง โดยเน้นประเด็นสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ , งานนโยบายกระทรวง/จังหวัด หรือตามเป้าหมายการดำเนินงานทีมหมอครอบครัวภายใต้แนวทางการพัฒนาของ DHS-PCA มีการติดตามประเมินผลโดยทีมภายในคือ คณะกรรมการระดับจังหวัด และทีมภายนอก คือ คณะกรรมการระดับเขต/กระทรวง (เยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA) มาตรการ Quick win 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน - แต่งตั้งกรรมการ DHS ระดับจังหวัด/อำเภอ - พัฒนาเกณฑ์ร่วมกับเขต - พัฒนาทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด/อำเภอ - ทุกอำเภอมีการพัฒนาตามเกณฑ์ และพัฒนา ODOP - ทุกอำเภอประเมินตนเองส่งจังหวัด - เยี่ยมเสริมพลังโดยทีมตรวจราชการ - ติดตามประเมินผลโดยคณะกรรมการระดับจังหวัด - ส่งผลการประเมินระดับจังหวัดให้เขต - ติดตามประเมินผลโดยคณะกรรมการระดับเขต - จ้ดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการดำเนินงาน - ร่วมนำเสนอ Best practice , ผลงานเด่น , นวัตกรรม ในเวที ระดับจังหวัด/เขต

7 Goal Setting ปี 2559 - อัตราการตายจากอุบัติเหตุ ลดลง 30%
1. Fast Track trauma - อัตราการตายจากอุบัติเหตุ ลดลง 30% 2. กลุ่มแม่และเด็ก - MMR =0 - Severe Birth Asphyxia(Apgar 0-3) ลดลง 50 % - PMR จาก BA ลดลง 50 % 3. Sepsis - อัตราตายจาก Sepsis ลดลง 20 % - อัตราการเกิด Severe sepsis/Septic shock ลดลง 50 %

8 5. NCD ลดภาวะแทรกซ้อนจาก DM&HT
4. Food Safety - อัตราป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษ ลดลง 50 % - อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง ลดลง 20 % 5. NCD ลดภาวะแทรกซ้อนจาก DM&HT - ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลง 20 % - CKD Stage 4-5 ลดลง 50% - อัตราการตัดขา ตัดเท้า ลดลง 50 % 6. มะเร็ง - มะเร็งท่อน้ำดี อัตราป่วยรายใหม่ลดลง 30 % - มะเร็งปากมดลูก อัตราป่วยใหม่ ลดลง 50 % - มะเร็งเต้านม อัตราป่วยรายใหม่ลดลง 50 % 7. ผู้สูงอายุ - ผู้สูงอายุติดบ้าน(กลุ่ม 2) ไม่เกิน 10% - ผู้สูงอายุติดเตียง (กลุ่ม 3) ไม่เกิน 1%

9 8. SRRT ทีม SRRTทุกระดับสามารถป้องกัน ควบคุมโรคได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างมีประสิทธิภาพ ระดับอำเภอ ร้อยละ100 9. ระบบข้อมูลสารสนเทศ - ข้อมูลมีความทันเวลา ร้อยละ 100 - ข้อมูลมีความถูกต้อง ร้อยละ 98 - ข้อมูลมีความครบถ้วน ร้อยละ 100 10. งานสุขภาพจิต - อัตราการฆ่าตัวตาย ไม่เกิน 2.04 ต่อแสน ปชก.

10 11. งาน Service Plan - จำนวน Refer back ผู้ป่วยในจาก รพศ.กลับ รพช.
ใกล้บ้าน เพิ่มขึ้นร้อยละ 50 (3,000 ราย) 12. ไข้เลือดออก - ข้อมูลมีความทันเวลา ร้อยละ 100 - ข้อมูลมีความถูกต้อง ร้อยละ 98 - ข้อมูลมีความครบถ้วน ร้อยละ 100 13. ระบบบริการปฐมภูมิ - ร้อยละของตำบลเป้าหมายที่มีการจัดการด้านสุขภาพแบบบูรณาการตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 70

11 เป้าหมาย ปี 2559 (ระดับเขต)
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แหล่งข้อมูล 1.ร้อยละ คปสอ.ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ 5 ดาว ร้อยละ 70 (14/20แห่ง) -การประเมินโดยทีมจังหวัด -ระบบรายงาน 2.ร้อยละ รพ.สต.ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ 5 ดาว >ร้อยละ 70 (169/241แห่ง)

12 เป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2559 ระดับเขต
เป้าหมาย คปสอ. 5 ดาว ระดับเขต ร้อยละ 70 จำนวน 14 คปสอ. ปี 2558 ปี จำนวน 8 แห่ง 6 แห่ง คปสอ.ประเมินซ้ำ 3 แห่ง คปสอ.ที่ไม่เคยรับประเมิน คปสอ.ผ่านประเมินระดับ 4 ดาว เมือง หนองหาน ไชยวาน น้ำโสม นายูง กุดจับ บ้านผือ กุมภวาปี หนองวัวซอ โนนสะอาด หนองแสง เพ็ญ วังสามหมอ พิบูลย์รักษ์ ประจักษ์ฯ กู่แก้ว สร้างคอม ทุ่งฝน บ้านดุง (ศรีธาตุ 3 ดาว)

13 กระบวนการประเมินคุณภาพ
คปสอ./รพ.สต. ทุกแห่งพัฒนาคุณภาพ ทีมพัฒนาคุณภาพอำเภอ/เครือข่าย ประเมินตนเอง ทีมประเมินอำเภอ ประเมินโดยทีมภายนอก ทีมประเมินจังหวัด/เขต

14 แผนการดำเนินงาน ปี 2559 ผู้บริหารจังหวัด/อำเภอ
แต่งตั้งกรรมการ/คณะทำงาน ธันวาคม 2558 ผู้บริหารจังหวัด/อำเภอ มกราคม 2559 ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัด/อำเภอ มกราคม 2559 มกราคม 2559 การประเมินตนเอง กุมภาพันธ์-มีนาคม 2559 ประเมินโดยทีมจังหวัด การประเมินรับรองระดับเขต เมษายน-พฤษภาคม 2559 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มิถุนายน 2559 นำเสนอ Best Practice จังหวัด/เขต กรกฎาคม-สิงหาคม 2559


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google