งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Human Rights สิทธิมนุษยชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Human Rights สิทธิมนุษยชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Human Rights สิทธิมนุษยชน

2 ถ้าพูดถึงสิทธิมนุษยชนนักศึกษาคิดถึงอะไร ?
การอ้างถึงสิทธิมนุษยชนเป็นการเรียกร้องอย่างจริงใจและโดย ชอบธรรมเพื่อแก้ไขปัญหาความอยุติธรรมทั้งปวง สิทธิมนุษยชนเป็นเพียงคำขวัญที่ถูกมองด้วยความแคลงใจหรือ แม้กระทั่งเป็นปรปักษ์ สิทธิมนุษชนเป็นเหมือนคำศัพท์เฉพาะที่สามารถนำมาอ้างโดย ศาลภายในหรือศาลระหว่างประเทศเท่านั้น

3 Human Rights Culture วัฒนธรรมสิทธิมนุษยชน
การรับประกันว่าทุกคนจะได้รับการ ปฏิบัติด้วยความเคารพในศักดิ์ศรีที่ มีมาแต่กำเนิด รวมถึงคุณค่าความ เป็นมนุษย์ของพวกเขา หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม ถูกบังคับให้ต้องคุ้มครองสิทธิ ประโยชน์ของผู้ก่อการร้าย อาชญา กร และคุ้มครองผู้อพยพโดยต้อง แลกกับความปลอดภัยของ ประชาชน

4

5 กลุ่มสิทธิมนุษยชนสองกลุ่มแถลงตำหนิทางการไทยกรณีที่ศาลจังหวัดปัตตานีพิพากษาให้ ประหารชีวิตผู้ต้องหา 5 คนเมื่อวันพุธ ในข้อหาโจมตีหน่วยลาดตระเวณทำให้ทหาร เสียชีวิต 4 นาย เหตุดังกล่าวเกิดเมื่อเดือนกรกฏาคม 2555 สุนัย ผาสุข แห่งฮิวแมนไรท์วอทช์ ให้สัมภาษณ์สำนักข่าวรอยเตอร์ว่าทหารไม่เคยถูก ลงโทษเลยทั้งๆที่มีการกล่าวหาอยู่เนืองๆว่าละเมิดสิทธิมนุษยชน “เหตุรุนแรงไม่ได้เกิดแต่ จากผู้แบ่งแยกดินแดนฝ่ายเดียว ฝ่ายความมั่นคงเองก็มีส่วนด้วย”

6 บางครั้งการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนอาจดูเหมือนเป็นการต่อต้านหลักการ เสียงข้างมาก ทำไมหน่วยงานระหว่างประเทศจึงควรจะตัดสินว่าอะไรที่ดี สุดสำหรับสังคมใดสังคมหนึ่ง โดยเฉพาะเมื่อผู้แทนที่ได้รับเลือกมาอย่าง เป็นประชาธิปไตยได้เลือกทางเดินอื่นไปแล้ว ? หากแต่ประเด็นอยู่ที่ว่าสิทธิมนุษยชนอาจช่วยปกป้องประชาชนจาก “ระบอบเผด็จการโดยเสียงข้างมาก” tyranny of the majority แต่อย่างไรก็ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนไม่ควรถูกมองเพียงว่าเป็น เครื่องมือที่จะขัดขวางความประสงค์ของคนหมู่มาก

7

8

9

10 ประวัติความเป็นมาของสิทธิมนุษยชน History of Human Rights

11

12

13

14

15

16 บทที่ 1 อาหาร การศึกษา สุขภาพ และที่อยู่อาศัย
บทที่ 1 อาหาร การศึกษา สุขภาพ และที่อยู่อาศัย อาหาร “ สิทธิมนุษยชนเริ่มต้นด้วยอาหารเช้า ”Human rights begin with breakfast การมีสิทธิในอาหาร (right to food) เกี่ยวพันกับความมั่นคงทาง อาหาร เกี่ยวข้องกับหลักประกันการเข้าถึงอาหารและการ วางแผนสำหรับปัญหาการขาดแคลนและการกระจายทรัพยากร

17 อาหาร ประการแรก คือ รัฐบาลควรหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดการบ่อนทำลายความมั่นคง ทางอาหารและควรวางแผนเพื่อตอบสนองความต้องการของประชากร ยิ่งไป กว่านั้นจะต้องไม่เลือกปฏิบัติในการเข้าถึงอาหาร ประการที่สอง คือ หน้าที่ในการปกป้องสิทธิในอาหาร ในที่นี้คือพันธกรณีที่ จะต้องคุ้มครองบุคคลไม่ให้ถูกแทรกแซงสิทธิในอาหารโดยคนอื่นๆ ประการที่สาม คือ หน้าที่จะต้อง เติมเต็ม ช่วยเหลือ อำนวยความสะดวก หรือ จัดหาให้ ซึ่งหมายความว่าในด้านหนึ่งต้องทำให้การเข้าถึงอาหารมี ประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย

18 การศึกษา สิทธิในการศึกษา (right to education) เป็นเรื่องสำคัญต่อการ เพิ่มขีดอำนาจประชาชนให้สามารถใช้สิทธิอื่นๆ ของตน การศึกษาโดยให้การศึกษาระดับประถมศึกษาฟรีและกำหนด เป็นภาคบังคับสำหรับทุกคน 3Rs - Reading - Writing - Arithmetic

19 การศึกษา ประการแรก คือ การศึกษาจะต้องมีอยู่พร้อมในแง่ประโยชน์ได้จริง
ประการที่สอง คือ รัฐจะต้องทำให้ทุกคน เข้าถึง โรงเรียนและโครงการต่างๆ ได้ แบ่งได้เป็น 3 มิติ 1. การเข้าถึงโดยไม่เลือกปฏิบัติ 2. การเข้าถึงทางกายภาพ 3. การเข้าถึงทางเศรษฐกิจ

20 สุขภาพ สิทธิในสุขภาพ (right to health) พอล ฮันต์ (Paul Hunt) ผู้เชี่ยวชาญของสหประชาชาติให้คำจำกัดความสิทธิในสุขภาพ ว่าคือ สิทธิในระบบสุขภาพที่มีประสิทธิผลและบูรณาการ ซึ่งรวมบริการด้านสุขภาพและปัจจัยจำเป็นของสุขภาพ อันตอบสนองความต้องการเร่งด่วนระดับชาติและท้องถิ่นอีกทั้งทุกคนเข้าถึงได้

21 ที่อยู่อาศัย ประการแรก คือ รัฐทั้งหลายมีหน้าที่ต้องเคารพที่อยู่อาศัยของผู้คน โดยรัฐ เองต้องไม่บังคับขับไล่หรือบังคับย้ายถิ่น ประการที่สอง คือ รัฐจะต้องปกป้องผู้ถือกรรมสิทธิ์ในที่พักอาศัยไม่ให้ถูก แทรกแซงหรือถูกรุกไล่อย่างไม่ชอบธรรมโดยบุคคลที่สาม ประการที่สาม คือ รัฐมีหน้าที่กลไกทางกฏหมายในการอำนวยความสะดวก ให้ทุกคนมีโอกาสได้ที่พักอาศัยตามกำลัง ประการที่สี่ คือ รัฐจะต้องหาที่พักอาศัยที่จำเป็นถ้าหากบุคคลหรือกลุ่ม เหล่านั้นไม่สามารถจัดการได้ด้วยตนเอง

22 บทที่ 2 การลือกปฏิบัติและความเท่าเทียม
บทที่ 2 การลือกปฏิบัติและความเท่าเทียม การเลือกปฏิบัติเป็นสิ่งต้องห้ามในบริบทของการใช้สิทธิทั้งปวง ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.1948 ประกาศว่า ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพทั้งปวงตามที่กำหนด ไว้ในปฏิญญานี้ โดยปราศจากการแบ่งแยกไม่ว่าชนิด ใด อาทิ เชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความ คิดเห็นทางการเมืองหรือทางอื่น พื้นเพทางชาติหรือ สังคม ทรัพย์สิน การเกิดหรือสถานะอื่น

23 การแบ่งแยกอย่างสมเหตุสมผลด้วยเหตแห่งอายุ
กรณีของนักบินนายหนึ่งร้องเรียนต่อคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เกี่ยวกับข้อบังคับให้เกษียณเมื่ออายุ 60 ปีเป็นการเลือกปฏิบัติอันมิชอบด้วยกฏหมายภายใต้กติกา

24 ความสัมพันธ์ระหว่างเพศเดียวกันกับศาสนา
แม้ว่าตอนนี้จะมีเกือบ 40 ประเทศแล้วที่ยินยอมให้การ แต่งงานระหว่างเพศเดียวกัน เกิดขึ้นอย่างถูกกฎหมาย แต่ อย่างไรก็ดีมี 79 เขตอำนาจรัฐ ทั่วโลกที่กำหนดให้การมี เพศสัมพันธ์ของเพศเดียวกัน เป็นอาชญากรรมด้วยเหตุผลที่ ถูกทำให้ชอบธรรมด้วยเหตุผล ทางศาสนา

25 ชาวต่างชาติ การเลือกปฏิบัติต่อคนที่ไม่ใช่ชนชาติของตัวเอง Xenophobia
การเก็บค่าเล่าเรียนของคนต่างชาติ การรักษาพยาบาล การจ้างงาน คณะกรรมการว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ (UN Committee on the Elimination of Racial Discrimination) แม้รัฐภาคีอาจปฏิเสธที่จะให้งานกับคนที่ไม่ใช่พลเมืองของตนและไม่มี ใบอนุญาตทำงานได้ แต่ทุกคนจะต้องสามารถใช้สิทธิด้านแรงงานและ การจ้างงาน ซึ่งรวมถึงเสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคมได้ นับตั้งแต่ความสัมพันธ์ของการจ้างงานเริ่มต้นขึ้นจนถึงเวลาสิ้นสุด

26 สถานะของประเทศไทยในกระบวนการค้ามนุษย์
ใช้มาตรการที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาร้ายแรงดังกล่วที่ แรงงานซึ่งไม่ใช่พลเมืองของตนเผชิญกันทั่วไป โดยเฉพาะคนทำงานบ้านที่ เป็นต่างด้าว ได้แก่ ปัญหาข้อผูกมัดเรื่องหนี้สิน การยึดพาสปอร์ต การกักขัง อย่างผิดกฏหมาย การข่มขื่น และการทำร้ายร่างกาย ปรากฏการณ์การค้ามนุษย์ (human trafficking) กรอบของสิทธิมนุษยชนเคลื่อนจากเรื่อง ความเท่าเทียมกัน ไปสู่ การพัฒนาความคุ้มครองแนวใหม่ สถานะของประเทศไทยในกระบวนการค้ามนุษย์ ก.ประเทศต้นทางของการค้ามนุษย์ ข.ประเทศทางผ่านของการค้ามนุษย์ ค.ประเทศปลายทางของการค้ามนุษย์ รูปแบบการค้ามนุษย์ ที่พบในประเทศไทย การบังคับใช้แรงงาน การบังคับค้าประเวณี การบังคับขอทาน

27 ความรุนแรงต่อสตรี

28 บุคคลผู้พิการ แนวคิดเดิม แนวคิดใหม่
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ (Convention on the Rights of Persons with Disabilities) มุมมองต่อการจัดการกับความพิการเปลี่ยนไป แนวคิดเดิม ความเอื้อเฟื้อ charity การโอบอุ้มแบบคุณพ่อรู้ดี paternalistic นโยบายทางสังคม Social policy แนวคิดใหม่ การเอื้อเฟื้ออย่างสมเหตุสมผล ปฏิบัติต่อผู้พิการอย่างเป็น ประธาน Subjects มิใช่ สิ่งของ Object

29 ที่อยู่อาศัย ประการแรก คือ รัฐทั้งหลายมีหน้าที่ต้องเคารพที่อยู่อาศัยของผู้คน โดยรัฐ เองต้องไม่บังคับขับไล่หรือบังคับย้ายถิ่น ประการที่สอง คือ รัฐจะต้องปกป้องผู้ถือกรรมสิทธิ์ในที่พักอาศัยไม่ให้ถูก แทรกแซงหรือถูกรุกไล่อย่างไม่ชอบธรรมโดยบุคคลที่สาม ประการที่สาม คือ รัฐมีหน้าที่กลไกทางกฏหมายในการอำนวยความสะดวก ให้ทุกคนมีโอกาสได้ที่พักอาศัยตามกำลัง ประการที่สี่ คือ รัฐจะต้องหาที่พักอาศัยที่จำเป็นถ้าหากบุคคลหรือกลุ่ม เหล่านั้นไม่สามารถจัดการได้ด้วยตนเอง

30 บทที่ 3 โทษประหารชีวิต โทษประหารชีวิตถือว่าเป็นประเด็นสิทธิมนุษยชนหรือไม่ ? โทษประหารชีวิตนั้นละเมิดสิทธิในชีวิต ? เราเชื่อว่าการทรมาณเป็นสิ่งที่ต้องห้ามเด็ดขาด ? การประหารชีวิตก็ควรต้องห้ามเช่นกัน การประหารชีวิตซึ่งเป็นการบังคับลงโทษขั้นสุดท้ายอันไม่ สามารถฟื้นฟูให้กลับดังเดิมได้

31 ในยุโรปการประหารชีวิตขัดต่อกฏบัตรสิทธิขั้นพื้นฐานสหภาพยุโรป คือ ทุกคนมีสิทธิใน ชีวิตและรัฐจะตัดสินประหารชีวิตไม่ได้ การยกเลิกโทษประหารชีวิตคือการย้ำว่า รัฐไม่มีสิทธิฆ่าใคร หลายประเทศยกเลิกโทษประหารชีวิตแล้ว และเปลี่ยนโทษสูงสุดให้เป็น จำคุกตลอดชีวิตโดยไม่มี สิทธิ์อภัยโทษ สาเหตุของการยกเลิกโทษประหารชีวิต 1. พิสูจน์ได้ว่าเป็น “ผู้บริสุทธิ์” เมื่อมีหลักฐานอื่นปรากฏขึ้น 2. การประหารชีวิตมีนัยยะของการ “เอาคืน” มากกว่าการลงโทษ Why do we kill people who kill people to show that killing people is wrong?


ดาวน์โหลด ppt Human Rights สิทธิมนุษยชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google