ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บริษัท อาหารสัตว์ จำกัด ต่อไปนี้เป็นข้อมูลของบริษัทในการเริ่มดำเนินงานใน 2 เดือนแรก ปี25+1
2
ใช้วิธีการคำนวณแบบถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
3
แผนกผลิต-เดือนมกราคม
4
ไม่มีการผลิตค้างอยู่ในงวดที่ผ่านมา
5
จำนวนหน่วยที่เริ่มผลิตในงวดนี้
6
หน่วยที่ผลิตในงวดนี้จะถูกแบ่งเป็นงานที่ทำเสร็จและงานที่ยังทำไม่เสร็จในงวด งานที่ทำเสร็จจะถูกส่งต่อไปแผนกต่อไป
7
งานที่ผลิตเสร็จแล้ว ใช้ปัจจัยการผลิตครบ
8
ปลายงวดมีงานที่ยังผลิตไม่เสร็จ ซึ่งผลิตไปได้แล้วครึ่งหนึ่ง
– วัตถุดิบใส่ตั้งแต่ต้นกระบวนการผลิต จึงใช้ครบ 200 หน่วย - ต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จ 200*1/2 = 100
9
อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิด150% ตามเกณฑ์ต้นทุนค่าแรงทางตรง
ดังนั้น ค่าแรงทางตรงระหว่างงวด 2,800 บาท คูณ อัตราค่าใช้จ่ายการผลิต % ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน ,200 บาท
12
เอาราคาต้นทุนมาหารด้วยจำนวนหน่วยของต้นทุน เช่น ต้นทุนต่อหน่วยของวัตถุดิบได้จากเอา 8,000 หาร 800 เท่ากับ 10
13
หาต้นทุนของสินค้าที่ผลิตเสร็จแล้วของแผนก โดยเอาจำนวนหน่วยที่ผลิตเสร็จไปคูณกับราคาต้นทุนรวมต่อหน่วย
19
แผนกบรรจุ-เดือนมกราคม
20
เริ่มต้นผลิตจึงยังไม่มีงานที่ทำไม่เสร็จในงวดที่แล้ว
21
เป็นหน่วยที่แผนกที่แล้วผลิตเสร็จแล้วส่งต่อมาบรรจุต่อ ดังนั้นต้องมีจำนวนเท่ากัน
22
หน่วยที่ผลิตในงวดนี้จะถูกแบ่งเป็นงานที่ทำเสร็จและงานที่ยังทำไม่เสร็จในงวด งานที่ทำเสร็จจะเป็นสินค้าสำเร็จรูป
24
งานที่ยังทำไม่เสร็จปลายงวดผลิตไปได้ 1 ใน 4 ของทั้งหมด
วัตถุดิบใส่เมื่องานใส่ ดังนั้นงานระหว่างทำปลายงวดยังไม่ได้ใช้วัตถุดิบ ต้นทุนแปรสภาพเท่ากับ 200x1/4 = 50
26
ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานคำนวณได้จาก 50% ของวัตถุดิบ
28
ต้นทุนต่อหน่วยเทียบเท่า = เอาต้นทุนทั้งหมดหารหน่วยเทียบเท่า
35
มีสินค้าสำเร็จรูป 400 หน่วย จำหน่ายได้ 90%= 360 หน่วย
ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป makeup 180%= บาท เพราะฉะนั้นขายได้ 360 X = 41,544 บาท
36
นำมาจากรายงานการผลิต
ต้นทุนระหว่างงวด
37
ต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด
ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด
38
จากรายงานการผลิต
39
ต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด
ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด
40
จากรายงานการผลิต
42
ลบออกเพราะโอนไปแผนกทันไปแล้ว
43
ขายสินค้าไม่หมด เหลือ 40 หน่วย ต้นทุน 64.11 บาท เท่ากับ 40 X 64.11
46
แผนกผลิต-เดือนกุมภาพันธ์
47
งานระหว่างทำต้นงวดเดือนกุมภาฯ
งานระหว่างทำปลายงวด ยกไป เป็น งานระหว่างทำต้นงวดเดือนกุมภาฯ ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด ยกไป เป็นต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด
48
หน่วยที่ยังผลิตไม่เสร็จในเดือนมกราคมของแผนกผลิตนำมาผลิตต่อ
49
หน่วยที่นำมาผลิตเพิ่มในเดือนนี้
50
แบ่งเป็นงานที่ผลิตเสร็จและงานที่ยังค้างอยู่
52
งานผลิตไปได้สองในสามของการผลิตทั้งหมด ดังนั้นใส่วัตถุดิบครบ แต่ต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จ
54
ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด ยกไป
เป็นต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด
55
เอามาจากต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวดเดือนมกราคมของแผนกผลิต
56
4,440 x 150%
62
งานระหว่างทำปลายงวด ยกไปเป็นงานระหว่างทำต้นงวด ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด
63
หน่วยที่ยังผลิตไม่เสร็จในเดือนมกราคมของแผนกบรรจุ นำมาผลิตต่อ
66
ปลายงวดทำการผลิตไปได้สามในสี่ จึงยังไม่ใส่วัตถุดิบ แต่ต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จ
68
ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด
69
นำมาจากต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวดในเดือนมกราคมของแผนกบรรจุ
70
18,900 x 50%
74
มีสินค้าคงเหลือจากเดือนที่แล้วอยู่ 40 หน่วย รวมกับสินค้าในงวดนี้ 700 หน่วย เป็น 740 หน่วย ขายได้ 90% คือ 666 หน่วย ต้นทุนหน่วยละ บาท makeup 180% เป็น บาท ดังนั้นขายได้ 666 X = 81, บาท
83
วิธีคำนวณแบบถั่วเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก เราไม่คำนึงถึงสินค้าชิ้นใดมาก่อนหลัง ทำให้ต้องหาต้นทุนรวมของสินค้าในเดือนที่ผ่านมาที่มีต้นทุนไม่เท่ากันมาหาค่าเฉลี่ยด้วย
84
สินค้าสำเร็จรูปที่ขายไม่หมดในเดือนมกราคม
สินค้าสำเร็จรูปที่ขายไม่หมดในเดือนนี้
87
ใช้วิธีการคำนวณแบบเข้าก่อนออกก่อน(FIFO)
88
เริ่มต้นการผลิตยังไม่มีงานที่ยังทำไม่เสร็จ
92
งานผลิตไปได้ครึ่งหนึ่ง ทำให้ต้องใส่วัตถุดิบทั้งหมด แต่ต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จ
95
2800 X 150%
96
เอาต้นทุนการผลิตระหว่างงวดหารจำนวนหน่วยเทียบเท่า
99
รับมาจากแผนกที่แล้ว
102
งานที่ผลิตยังไม่เสร็จผลิตไปได้ หนึ่งในสี่ ทำให้เรายังไม่ใส่วัตถุดิบ แต่ใส่ต้นทุนแปรสภาพตามขั้นความสำเร็จของงาน
105
10,000 X 50%
109
ผลิตได้ 400 หน่วย ขายได้ 360 หน่วย
ต้นทุนหน่วยละ บาท makeup เป็น บาท ดังนั้นยอดขายเท่ากับ 360 X
117
คำนวณจากเอาจำนวนสินค้าคงเหลือคูณด้วยราคาต้นทุนสินค้า 40 X 64.11
119
งานที่ผลิตยังไม่เสร็จจากเดือนมกราคมยกมาผลิตต่อในเดือนนี้
123
เดือนที่ผ่านมางานผลิตไปได้แล้วครึ่งหนึ่ง โดยที่ได้ใส่วัตถุดิบทั้งหมดไปครบแล้ว ส่วนต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จของงาน ในที่นี้งานเสร็จแล้วจึงใส่ที่เหลือให้ครบ
125
ปลายงวดงานผลิตไปแล้วสองในสาม ดังนั้นวัตถุดิบจะถูกใส่ไปทั้งหมดตอนต้นขบวนการ ส่วนต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จของงาน
128
ยกมาจากต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวดเดือนมกราคม
141
ยกยอดมาจากเดือนมกราคมของแผนกบรรจุ
142
รับมาจากแผนกผลิต 900 หน่วย
143
เดือนที่ผ่านมางานผลิตไปได้หนึ่งในสี่ส่วน ดังนั้นงานเสร็จในเดือนนี้จึงพึ่งใส่วัตถุดิบที่เดียวทั้งหมด ส่วนต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จของงาน ไม่ได้รับมาจากแผนกผลิตในเดือนนี้แต่คงค้างมาจากเดือนที่แล้ว
145
ปลายงวดงานผลิตไปได้สามในสี่ส่วน ดังนั้นเรายังไม่ใส่วัตถุดิบ แต่ใส่ต้นทุนแปรสภาพตามขั้นความสำเร็จของงาน
148
ยกยอดมาจากต้นทุนงานระหว่างปลายงวดเดือนมกราคมของแผนกบรรจุ
156
จากเดือนมกราคมมีสินค้าคงคลังเหลืออยู่40ชิ้น เดือนนี้ผลิตได้อีก700 ชิ้น รวมเป็น740 ชิ้น ขายได้666 ชิ้น ต้นทุนหน่วยละ บาท makeup180%เท่ากับ บาท ดังนั้นยอดขายคือ 666 X = 81,899.77บาท
157
ต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด
ต้นทุนระหว่างงวด ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด
158
ต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด
ต้นทุนระหว่างงวด ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด
159
ต้นทุนระหว่างงวด
163
40 X 64.1111(ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูปเดือนมกราคม)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.