ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKarol Małek ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
1 กิจกรรมถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) ครั้งที่ 1/2557 คณะวิเทศศึกษา ม.อ.ภูเก็ต 25 สิงหาคม รูปแบบลวดลายผ้าบาติกในกลุ่มจังหวัดอันดามัน The Designs of Batik Cloth in Andaman Provinces ผู้ช่วยศาสตราจารย์โสภณ ศุภวิริยากร คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
2
1. ความสำคัญและที่มาของปัญหา 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
3. ขอบเขตของการวิจัย 4. ผลจากการวิจัย 5. สรุปผลการวิจัย 6. ข้อเสนอแนะ
3
1. ความสำคัญและที่มาของปัญหา
3 1. ความสำคัญและที่มาของปัญหา ผ้าบาติก - อินโดนีเซีย - มาเลเซีย - ฟิลิปปินส์ - ทางภาคใต้ของไทย (นราธิวาส ยะลา ) ลวดลายส่วน ใหญ่เลียนแบบจากมาเลเซีย พัฒนา - เข้าสู่ภูเก็ตโดยจุดเริ่มต้นที่วิทยาลัยครูภูเก็ต (ปี ) อ.ชูชาติ ระวิจันทร์เป็นผู้เริ่มต้น(เปิดสอนหลักสูตร บาติก) เป็นบาติกลายเขียนเทียนระบายสี (ลายใต้ท้องทะเล) - เป็นที่รู้จักทั่วจังหวัดและแถบชายฝั่งอันดามัน - ผ้าบาติกจึงเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดภูเก็ต
4
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
4 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบลวดลายผ้าบาติกในจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่
5
3. ขอบเขตของการวิจัย 5 1. ขอบเขตด้านข้อมูลและเนื้อหา
-รูปแบบลวดลายที่ปรากฏบนผ้าบาติกที่ช่างเขียนผลิตในจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก -วิเคราะห์เนื้อหาลักษณะเด่น เอกลักษณ์ของรูปแบบลวดลายมีความแตกต่างกันอย่างไรโดยยึดกรอบแนวคิด(ผศ.นันทา โรจน์อุดมศาสตร์) ลายดัดแปลงมาจากธรรมชาติ ลายประเภทสัตว์ ลายไทยและลายเครือเถา ลายเรขาคณิต ด้านจุดเด่น เอกลักษณ์ และ สีสัน
6
3. ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ)
6 3. ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ) 2 ขอบเขตด้านพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย -ช่างเขียนลวดลายผ้าบาติกจากร้านบาติกร้านละ 1 คน ในพื้นที่จังหวัด ภูเก็ต พังงา และกระบี่ โดยวิธีสุ่มเพียง 5 แหล่ง (จากโอทอป) ต่อ จังหวัด โดยการสัมภาษณ์ เชิงลึก
7
4. ผลจากการวิจัย 7 รูปแบบลวดลายดัดแปลงมาจากธรรมชาติ (ปู ปลา กุ้ง หอย เตา ปะการัง ดอกกล้วยไม้ ดอกกุหลาบ ดอกลีลาวดี ดอกเฟื่องฟ้า ดอกจำปา ดอกศรีตรัง) ทั้งสามจังหวัดไม่มีความแตกต่าง ภูเก็ต พังงา กระบี่
8
4. ผลจากการวิจัย (ต่อ) 8 ภูเก็ต พังงา กระบี่
9
4. ผลจากการวิจัย (ต่อ) 9 -รูปแบบลวดลายสัตว์ ภูเก็ต พังงา กระบี่
10
10 4.ผลจากการวิจัย (ต่อ) -รูปแบบลวดลายไทย ภูเก็ตนิยมเขียน พังงา และกระบี่ไม่นิยม -รูปแบบลวดลายเรขาคณิต พังงา นิยมเขียน ภูเก็ต กระบี่ไม่นิยมเขียน
11
4. ผลจากการวิจัย (ต่อ) 11 -ลักษณะจุดเด่น เอกลักษณ์ของรูปแบบลวดลาย
ภูเก็ต พังงา กระบี่ เขาะปู กล้วยไม้รองเท้านารี แหลมพรหมเทพ อาคารชิโนปอร์ตุกีส
12
4. ผลจากการวิจัย (ต่อ) 12 -สีสัน สีพื้นของเสื้อผ้า ภูเก็ต พังงา กระบี่
ภูเก็ต พังงา กระบี่ พื้นสีชมพู สีพื้นของเสื้อผ้า ตัวลายสีกลมกลืน พื้นสีม่วงระบายเรียบ ตัวลายหลากสี สีของตัวลาย พื้นสีชมพูเข้มแบบระบายเรียบ ตัวลายสีชมพูอ่อน และกลมกลืน
13
5.สรุปผลการวิจัย 13 -ลวดลายดัคแปลงจากธรรมชาติ -ลวดลายสัตว์ -ลวดลายไทย
-ลวดลายเรขาคณิต -ลักษณะจุดเด่น เอกลักษณ์ -สีสัน
14
5.สรุปผลการวิจัย (ต่อ) ภูเก็ต พังงา กระบี่ 14 ประเด็นรูปแบบลวดลาย
นิยม (/) ไม่นิยม (x) เฉพาะ ภูเก็ต พังงา กระบี่ -ลายดัดแปลงจากธรรมชาติ / -ลายประเภทสัตว์ -ลายไทยและเครือเถา x -ลายเรขาคณิต -ลักษณะจุดเด่น เอกลักษณ์ -สีสัน
15
15 6.ข้อเสนอแนะ - ช่างเขียนผ้าบาติกควรเพิ่มศักยภาพในการออกแบบ(ทันสมัย) ทักษะ ฝีมือ - ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบลวดลายของผ้าบาติกในเขต พื้นที่ ใกล้เคียง (จ.สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) และประเทศเพื่อน บ้าน (มาเลเซีย อินโดนีเซีย จีน) - รัฐ และเอกชนควรดูแลเรื่องราคา (ควบคุม)
16
ตัวอย่างภาพประกอบการสัมภาษณ์
16 ตัวอย่างภาพประกอบการสัมภาษณ์
17
17
18
18
19
19
20
20
21
ขอขอบพระคุณ ช่างเขียนผ้าบาติกทุกท่านในเขตจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่
21 ขอขอบพระคุณ ช่างเขียนผ้าบาติกทุกท่านในเขตจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ (ให้ข้อมูล-สัมภาษณ์) คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต (สนับสนุนทุนในการวิจัย) และขอขอบคุณผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่าน......สวัสดีครับ....
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.