ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน)
ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน) ความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณในรายจ่ายภาพรวม รายจ่ายลงทุน(บางหน่วยงานที่มี) การคำนวณร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณ การประเมินจะนำผลเบิกจ่ายในระบบ GFMIS มาเป็นผลการประเมินหน่วยงาน แบ่งการประเมินเป็น 2 รอบ ๆ ละ 5 เดือน ดังนี้ รอบแรก (5 เดือนแรก) เริ่ม ตุลาคม – กุมภาพันธ์ 2560 รอบที่ 2 (5 เดือนหลัง ) เริ่ม มีนาคม 2560 – กรกฎาคม 2560
2
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย
เกณฑ์การให้คะแนน : 5 เดือนหลัง ( มีนาคม กรกฎาคม 2560 ) กรณีไม่มีงบลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ภาพรวม 1.0 77 78 79 80 81
3
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย
เกณฑ์การให้คะแนน : 5 เดือนหลัง ( มีนาคม กรกฎาคม 2560 ) กรณีมีงบลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ภาพรวม 0.6 77 78 79 80 81 งบประมาณรายจ่ายลงทุน 0.4 67 68 69 70 71
4
กรณีศึกษา Best Practice
1. พิจารณาจากหน่วยงานที่มีผลเบิกจ่ายเป็นไปตามเป้าหมายตั้งแต่เดือน พ.ย ก.พ. 60 2. พิจารณาจากหน่วยงานที่มีการรายงานผลการเบิกจ่ายทุกวันที่ 15 ของเดือน ตั้งแต่เดือน พ.ย ก.พ. 60 หน่วยงานที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่น ( Best Practice) ตามหลักเกณฑ์ข้างต้น ได้แก่ ศูนย์ห้องปฏิบัติการ กรมอนามัย ศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศ กองคลัง หน่วยงานที่มีผลการปฏิบัติงานดี แต่ในเดือน ต.ค. - พ.ย.59 ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ตามเป้าหมาย ได้แก่ ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา และศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา
5
ปัญหา / อุปสรรค และแนวทางการพัฒนา
1. บางหน่วยงานเจ้าหน้าที่ยังขาดความเข้าใจในกระบวนการบริหารงบประมาณ การจัดซื้อ/จัดจ้าง เป็นต้น มีการจัดซื้อจัดจ้างช่วงปลายเดือนทำให้ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ทันในเดือนนั้นๆ 3. ปัญหาด้านการตรวจรับ ไม่เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ทำให้เบิกจ่ายไม่ได้ตามแผน แนวทางการพัฒนา ให้หน่วยงานจัดทำแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ โดยนำมติ ครม. มาตรการเร่งรัดการเบิกจ่าย มาเป็นตัวกำหนด ( นำข้อมูลมาตรการเร่งรัดในปีเก่าๆ มาประกอบ ) 2. ให้กลุ่มงานต่างๆ (ภายในหน่วยงาน) ที่เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายงบประมาณ มีการติดต่อสื่อสารกัน ให้มากยิ่งขึ้น เมื่อพบปัญหาจะได้แก้ไขได้ทัน ให้ผู้อำนวยการติดตามผลการเบิกจ่ายอย่างใกล้ชิด และติดตามรายงานผลการเบิกจ่ายทุกวันที่ 15 ของเดือน ในการจัดซื้อ จัดจ้าง พยายามหลีกเลี่ยงแผนการใช้จ่ายที่กระชั้นชิด (ทุกสิ้นเดือน) และหากติดขัด/ไม่แน่ใจ ข้อระเบียบให้รีบประสานงานกับกองคลังอย่างเร่งด่วน กองคลังจัดให้มีการอบรมความรู้เกี่ยวกับระเบียบการเงินการคลัง
6
สวัสดีค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.