ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
2
หัวข้อการบรรยาย พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยวิธีการเบิกจ่าย เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 อัตราค่าบริการสาธารณสุขเพื่อใช้สำหรับการเบิกจ่าย ค่ารักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการ
3
แนวคิดสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
4
สวัสดิการรักษาพยาบาล
การตรวจวินิจฉัย การฟื้นฟูสมรรถภาพ การบำบัดรักษาโรค การตรวจสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล หมายถึง การให้บริการ ด้านการแพทย์ และสาธารณสุขโดยตรงแก่ ผู้มีสิทธิและบุคคลในครอบครัวของผู้มีสิทธิ
5
ค่ารักษาพยาบาล ค่ายา ค่าเวชภัณฑ์ ค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์ ค่าเลือดและส่วนประกอบของเลือดหรือสารทดแทน ค่าน้ำยาหรือสารอาหารทางเส้นเลือด ค่าออกซิเจน และอื่น ๆ ทำนองเดียวกันที่ใช้ในการบำบัดรักษาโรค ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค รวมทั้งค่าซ่อมแซมอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ดังกล่าว ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าบริการทางการพยาบาล ค่าตรวจวินิจฉัยโรค ค่าวิเคราะห์โรค แต่ไม่รวมค่าธรรมเนียมแพทย์พิเศษ ค่าจ้างผู้พยาบาลพิเศษ ค่าธรรมเนียมพิเศษ และค่าบริการอื่น ๆ ทำนองเดียวกันที่มีลักษณะเป็นเงินตอบแทนพิเศษ ค่าตรวจครรภ์ ค่าคลอดบุตรและการดูแลหลังคลอดบุตร ค่าห้องและค่าอาหาร ตลอดระยะเวลาที่เข้ารับการรักษาพยาบาล ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
6
ผู้มีสิทธิ และบุคคลในครอบครัว
7
ผู้มีสิทธิ และบุคคลในครอบครัว
รับเงินเดือนหรือค่าจ้าง จากเงินงบประมาณรายจ่าย (งบบุคลากร) รับเงินตอบแทนความชอบที่ได้ รับราชการมา จากเงินงบกลาง ชอบด้วยกฎหมาย (มีหลักฐานของทางราชการรับรอง) คู่สมรส บุตร 3 คน ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชาวต่างประเทศ บิดา/มารดา ข้าราชการ ผู้รับบำนาญ ผู้รับเบี้ยหวัด
8
การมีสิทธิ เสียชีวิต รับบำนาญ เกษียณ พักราชการ/ไล่ออก/ลาออก/เสียชีวิต
รับราชการ พักราชการ/ไล่ออก/ลาออก/เสียชีวิต เกษียณ รับบำนาญ เสียชีวิต
9
การรายงานข้อมูลผู้มีสิทธิ และบุคคลในครอบครัว
ให้ผู้มีสิทธิมีหน้าที่รายงานข้อมูลของตนเอง และบุคคลในครอบครัวต่อส่วนราชการเจ้าสังกัด พร้อมรับรองความถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด (มาตรา 5 วรรค 2) หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว 376 ลงวันที่ 30 ก.ย. 53
10
บุตรไร้/เสมือนไร้ความสามารถ
เงื่อนไขของบุตรชอบด้วยกฎหมาย เรียงลำดับ การเกิด แทนที่เฉพาะตาย ก่อนบรรลุนิติภาวะ ไม่รวมบุตร บุญธรรม บุตรไร้/เสมือนไร้ความสามารถ
11
กรณีตัวอย่างการนับลำดับบุตร (ผู้มีสิทธิแต่งงานใหม่)
นายต๊อด นางนุ่น ด.ช. แดง (บุตรคนที่ 1) ด.ช. เขียว (บุตรคนที่ 2) ด.ญ. เอ (บุตรคนที่ 1) ด.ช. ซี (บุตรคนที่ 2) ด.ช. หนึ่ง (บุตรคนที่ 3) ด.ญ. สอง (บุตรคนที่ 4)
12
กรณีตัวอย่างการนับลำดับบุตรแฝด 2
นายต๊อด นางนุ่น ด.ช. เอ (บุตรคนที่ 1) ด.ช. บี (บุตรคนที่ 2) ด.ช. ซี (บุตรคนที่ 3) ด.ช. ดี (บุตรคนที่ 4) ฝาแฝด ไม่สามารถเบิกให้กับเด็กชายดีได้ เนื่องจากทั้งสองมีบุตรรวมกันครบสามคนแล้ว
13
กรณีตัวอย่างการนับลำดับบุตรแฝด 3
นายต๊อด นางนุ่น ด.ช. แดง (บุตรคนที่ 1) ด.ญ. ส้ม (บุตรคนที่ 2) ด.ช. เขียว (บุตรคนที่ 3) ด.ญ. เอ (บุตรคนที่ 1) ด.ช. บี (บุตรคนที่ 2) ด.ช. ซี (บุตรคนที่ 3) บุตรแฝดไม่สามารถเบิกได้ เนื่องจากนายตีอดและนางนุ่นเบิกให้กับบุตรครบคนละ 3 คนแล้ว ด.ช. หนึ่ง (บุตรคนที่ 4) ด.ญ. สอง (บุตรคนที่ 5) ฝาแฝด
14
กรณีตัวอย่างการนับลำดับบุตรแฝด 4
นายต๊อด นางนุ่น ด.ช. แดง (บุตรคนที่ 1) ด.ช. เขียว (บุตรคนที่ 2) ด.ญ. เอ (บุตรคนที่ 1) ด.ช. ซี (บุตรคนที่ 2) ด.ช. หนึ่ง (บุตรแฝดคนที่ 1) ด.ญ. สอง (บุตรแฝดคนที่ 2) เบิกได้ครบทุกคน ฝาแฝด
15
"คลอด" "บรรลุนิติภาวะ" บุตรชอบด้วยกฎหมายลำดับที่ 1 - 3
อายุ (ครบ 20 ปีบริบูรณ์) จดทะเบียนสมรส การบรรลุนิติภาวะ เกิดสิทธิ "คลอด" หมดสิทธิ "บรรลุนิติภาวะ"
16
การเข้ารับบริการในสถานพยาบาล
สถานพยาบาลของทางราชการ ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน สถานพยาบาลของเอกชน การนัดผ่าตัดล่วงหน้า การเข้ารับการรักษาในกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน การส่งตัวเข้ารับการรักษาพยาบาลเป็นครั้งคราว
17
กรณีสิทธิซ้ำซ้อน (มาตรา 10)
ผู้มีสิทธิมีสิทธิจากหน่วยงานอื่น ต้องเลือกใช้สิทธิ บุคคลในครอบครัวมีสิทธิของตนเอง ไม่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ เว้นแต่ค่ารักษาพยาบาลที่ได้รับต่ำกว่า บุคคลในครอบครัวเป็นผู้อาศัยสิทธิของผู้อื่นซึ่งมีสิทธิ มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ
18
อัตราค่าบริการสาธารณสุข
19
ค่าห้องและค่าอาหาร เดิม 300 บาท ใหม่ 400 บาท เตียงสามัญ (21101)
เดิม 600 บาท ใหม่ 1,000 บาท ห้องพิเศษ (21201)
20
ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค
นัดผ่าตัดก่อนวันที่ 1 มกราคม 2557 ระบบเบิกจ่ายตรง ระบบใบเสร็จ นัดผ่าตัดหลังวันที่ 1 มกราคม 2557
21
ค่ายาและสารอาหารทางเส้นเลือด
ค่ายา หมายถึง ค่ายาที่ใช้ ในการบำบัดรักษาโรคไม่ว่าจะมีวิธีการให้ยาในลักษณะใด เช่น เป็นยาฉีด ยาทา ยาใส่แผล หรือยารับประทาน ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ (Essential Drugs) ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ (Non – Essential Drugs) สารอาหารทางเส้นเลือด หมายถึงสารน้ำหรือสารอาหารที่ให้ผู้ป่วยทางเส้นเลือด ซึ่งไม่ได้ใช้รับประทานทางปากโดยปกติ กลูโคส น้ำเกลือ กรดอะมิโน
22
การเบิกจ่ายค่ายาแบบมีเงื่อนไข
ยามะเร็ง ยากลุ่มโรค รูมาติก และสะเก็ดเงิน ยาสมุนไพร และยาแผนไทย วิตามิน และแร่ธาตุ กลูโคซามีน ซัลเฟต
23
ยามะเร็ง 6 ชนิด Imatinib Rituximab Trastuzumab Bivacizumab Erlotinib
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรัง และมะเร็งลำไส้ชนิด gastrointestinal stromal tumor (GIST) Imatinib มะเร็งต่อมน้ำเหลือง Rituximab มะเร็งเต้านมระยะแพร่กระจาย Trastuzumab มะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะแพร่กระจาย Bivacizumab มะเร็งปอดระยะแพร่กระจายที่ไม่ตอบสนองต่อยากลุ่ม Platinum และ Docetaxel แล้ว Erlotinib มะเร็งปอดระยะแพร่กระจายที่ไม่ตอบสนองต่อยากลุ่ม Platinum และ Docetaxel แล้ว Gefitinib
24
ยารักษากลุ่มโรครูมาติก และสะเก็ดเงิน
ห้ามเบิกใบเสร็จรับเงิน เงื่อนไข Rituximab Etanercept Infliximab เบิกจ่ายตรง ห้ามเบิกยา “ชีววัตถุอื่น”
25
ยาสมุนไพร ยาแผนไทย 4 ประเภท
(ที่ กค /ว. 33 ลงวันที่ 11 เมษายน 2554) ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ (ไม่รวมน้ำมันไพล เจลพริก) ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณตามประกาศ สธ. เภสัชตำรับโรงพยาบาล (รพ.ผลิตเอง) ยาที่ปรุงสำหรับผู้ป่วย เฉพาะราย หมายเหตุ : การสั่งใช้ยา ให้เป็น ไปตามการสั่งใช้ของ 1. แพทย์แผนปัจจุบัน 2. แพทย์แผนไทย (มีใบประกอบโรคศิลปะ สาขาแพทย์แผนไทยประเภทเวชกรรมแผนไทย หรือ สาขาแพทย์แผนไทยประยุกต์)
26
เงื่อนไขการให้บริการของสถานพยาบาล
(ที่ กค /ว. 33 ลงวันที่ 11 เมษายน 2554) แพทย์บันทึกข้อมูลการรักษาในเวชระเบียนเพื่อใช้ประกอบ การตรวจสอบ สถานพยาบาลออกใบเสร็จ ค่ายาสมุนไพรตามประเภท ที่ กค. กำหนด (ประเภทที่ 1-4) ห้ามแพทย์ หรือ คกก. แพทย์ออกหนังสือรับรองยาสมุนไพรนอกเหนือจาก ที่ กค. กำหนด แพทย์ออกหนังสือรับรองการรักษาเพื่อ เป็นหลักฐานประกอบ การเบิกจ่ายโดยระบุระยะเวลาเริ่ม -สิ้นสุดให้ชัดเจน
27
ขึ้นทะเบียนเป็นยากับ สำนักงาน อย. มีคุณสมบัติในการบำบัดรักษาโรค
วิตามินและแร่ธาตุ ขึ้นทะเบียนเป็นยากับ สำนักงาน อย. มีคุณสมบัติในการบำบัดรักษาโรค บัญชียาหลักแห่งชาติ ว 72
28
เงื่อนไขการเบิกยาข้อเข่าเสื่อม (เฉพาะระบบใบเสร็จรับเงิน)
เฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมจากความชรา และมีพยาธิสภาพข้อเข่าเสื่อมระยะปานกลาง ผ่านการรักษาอย่างอนุรักษ์นิยมอย่างเต็มที่ แต่ไม่ได้ผล มีอายุตั้งแต่ 56 ปีขึ้นไป สั่งใช้ได้เฉพาะแพทย์สาขาอายุรแพทย์โรคข้อ สาขาเวชศาสตร์ฟื้นฟูหรือสาขาออร์โธปิดิกส์ ครั้งละไม่เกิน 6 สัปดาห์ + หยุดใช้ยาในเดือนที่ 6 + ประเมินประสิทธิผลของยาอย่างน้อย 3 เดือน
29
ค่าบริการ ค่าตรวจวิเคราะห์โรค
ค่าบริการ ตรวจวิเคราะห์โรค ค่าบริการ ค่าตรวจวิเคราะห์โรค ด่วนที่สุด ที่ กค. 0417/ ว ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2549 2,929 รายการ ด่วนที่สุดที่ กค. 0417/ ว ลงวันที่ 17 กันยายน 2550 29 รายการ ด่วนที่สุดที่ กค. 0417/ ว ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2550 1 รายการ ด่วนที่สุดที่ กค / ว ลงวันที่ 5 กันยายน 2551 28 รายการ ด่วนที่สุดที่ กค / ว ลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2552 4 รายการ ใบเสร็จ ค่ารักษา พยาบาลจะต้องลง “รหัส”
30
ค่าบริการ ค่าตรวจวิเคราะห์โรค
ค่าบริการ ตรวจวิเคราะห์โรค ค่าบริการ ค่าตรวจวิเคราะห์โรค ยกเว้น หมวด 11 : หัตถการในห้องผ่าตัด หมวด 14 : กายภาพ เวชกรรมฟื้นฟู เบิกตามโรงพยาบาลเรียกเก็บ ค่าบริการ ค่าตรวจวิเคราะห์ (16 หมวด) ต้องลง “รหัส” เบิกตามอัตราที่กำหนด
31
ค่าบริการฝังเข็มละค่าบริการการให้การบำบัด ของผู้ประกอบโรคศิลปะอื่น
ค่าบริการฝังเข็มละค่าบริการการให้การบำบัด ของผู้ประกอบโรคศิลปะอื่น ค่าบริการฝังเข็ม ค่าฝังเข็ม (58001) ค่าบริการบำบัดรักษาโรคด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ค่าประคบสมุนไพร (58007) ค่านวด (58005 และ 58006) ค่าอบไอน้ำสมุนไพร (58004) ค่านวดพร้อมประคบสมุนไพร (58002 และ 58003)
32
เบิกได้ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
กรณีสถานพยาบาลไม่มียาและอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ ในการบำบัดรักษาโรคจำหน่าย เบิกได้ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ยา/สารอาหารทางเส้นเลือด เลือดและส่วนประกอบของเลือด การตรวจทางห้องทดลอง อวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค
33
การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล
ระบบเบิกจ่ายตรง จัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ หนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงิน ค่ารักษาพยาบาล (แบบ 7130) ผู้ป่วยใน ลงทะเบียน ณ สถานพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ ระบบใบเสร็จรับเงิน ยื่นเบิกกับส่วนราชการต้นสังกัด (แบบ 7131) ผู้ป่วยนอก
34
การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลกรณีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
35
การรักษาโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ครั้งละ 2,000 บาท เบิกจ่ายตรง การล้างไต ทางช่องท้อง รพ. เรียกเก็บ ใบเสร็จรับเงิน/จ่ายตรง การปลูกถ่ายไต DRGs
36
การปลูกถ่ายไตจากผู้บริจาคที่มีชีวิต
ก่อนปลูกถ่าย ผู้ป่วยนอก รับผิดชอบเอง ระหว่างปลูกถ่าย ผู้ป่วยใน หลังจากปลูกถ่าย
37
ขั้นตอนการใช้สิทธิ ผู้มีสิทธิ/บุคคลในครอบครัว โรงพยาบาล
ฐานข้อมูลต้องสมบูรณ์ เข้ารับบริการตามปกติ โรงพยาบาล ลงทะเบียนผู้มีสิทธิและผู้บริจาค ส่งเบิกตามหลักเกณฑ์
38
การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลกรณีคลอดบุตร
39
การเบิกค่ารักษาพยาบาลกรณีคลอดบุตร
กรณีเด็กเจ็บป่วย ให้ใช้หนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงินค่ารักษาพยาบาล กรณีเด็กไม่ได้ป่วย ให้ใช้เลขอนุมัติผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตของมารดา แยกเบิกจากมารดาตาม DRGs ห้ามคิดค่าห้องและค่าอาหารกรณีเด็กแรกเกิดไม่ได้เจ็บป่วย เดิม ส่งเบิกแยกจากมารดาทั้งกรณีที่ป่วยและไม่ป่วย ตาม DRGs ผู้มีสิทธิกรอกแบบแจ้งการขอใช้สิทธิรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาลให้กับบุตร (แบบ 7141) สถานพยาบาลขอเลขอนุมัติผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ใหม่
40
การเบิกการคลอดบุตรกรณีส่วนเกินสิทธิประกันสังคม
สถานพยาบาลส่งเบิกค่าใช้จ่ายส่วนเกินในระบบเบิกจ่ายตรง สถานพยาบาลเรียกเก็บเงินเต็มจำนวนประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตร ค่าใช้จ่ายในช่วง 7 เดือนก่อนการคลอดบุตร หากมีส่วนเกินสิทธิสามารถยื่นขอเบิก ณ ส่วนราชการต้นสังกัด ผู้คลอดลงลายมือชื่อในแบบแจ้งการขอใช้สิทธิรับเงินค่ารักษาพยาบาลเฉพาะส่วนที่ขาดอยู่ (แบบ 7106) หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมอนุมัติค่ารักษาพยาบาล กรณีที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด (ไม่ต้องขอทำความตกลง)
41
การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลกรณีบิกเงินส่วนขาด ของสัญญาประกันภัย
การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลกรณีบิกเงินส่วนขาด ของสัญญาประกันภัย
42
การเบิกเงินส่วนที่ขาดจากสัญญาประกันภัย
ใช้สำเนาหลักฐานการรับเงินของสถานพยาบาล ที่บริษัทประกันภัยรับรองว่า ได้จ่ายเงิน ค่ารักษาพยาบาลให้ผู้มีสิทธิหรือบุคคล ในครอบครัวไปเป็นจำนวนเงินเท่าไร เงินค่ารักษาพยาบาลที่จ่ายให้กับผู้มีสิทธิ เมื่อรวมกับเงินชดเชยค่ารักษาพยาบาลที่ได้รับจากบริษัทประกันภัยต้องไม่เกินกว่า ความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง
43
การเบิกค่าพาหนะส่งต่อผู้ป่วย
44
การเบิกค่าพาหนะส่งต่อผู้ป่วย
เงื่อนไขสถานพยาบาล เงื่อนไขการเบิก ต้นทาง ปลายทาง ผู้ป่วย IPD OPD จ่ายตรง เงื่อนไขการส่งต่อ
45
เงื่อนไขการส่งต่อ ผู้มีสิทธิ ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก ข้อมูลสมบูรณ์
รักษาอยู่ที่ รพ. ผู้ป่วยใน ไม่สามารถให้ การรักษาผู้ป่วยได้ ส่งไปเพื่อรักษา รพ. อื่นที่ศักยภาพสูงกว่า ผู้ป่วยนอก อุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน ภาวะวิกฤติ/อันตรายต่อชีวิต ส่งไปเพื่อรักษา รพ. อื่นที่ศักยภาพสูงกว่า
46
เงื่อนไขสถานพยาบาล ต้นทาง ปลายทาง ผู้ป่วยใน/ ผู้ป่วยนอก
ไม่อาจ ให้การรักษาผู้ป่วยได้ ผู้ป่วยใน/ ผู้ป่วยนอก ต้นทาง รับไว้เป็นผู้ป่วยใน สังเกตอาการ ปลายทาง
47
สิ่งที่ไม่เข้าเงื่อนไขการเบิกค่าพาหนะส่งต่อ
รถส่วนตัวหรือ รถสาธารณะ ส่งไปตรวจทางห้องทดลอง เอกซเรย์ รับผู้ป่วยจากบ้านหรือที่เกิดเหตุ
48
เหมาจ่าย 500 + 4 บาท/กิโลเมตร หากเกิดใบเสร็จ ต้องขอตกลงเท่านั้น
เงื่อนไขการเบิก เบิกจ่ายตรงเท่านั้น เหมาจ่าย บาท/กิโลเมตร (ไป-กลับ) หากเกิดใบเสร็จ ต้องขอตกลงเท่านั้น ว 76
49
การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน
50
“เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน”
นโยบายรัฐบาล “เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน”
51
เงื่อนไขการใช้สิทธิ (ว 95)
กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ผู้ป่วยฉุกเฉิน ไม่รุนแรง ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน
52
เงื่อนไขการจ่ายเงินให้กับสถานพยาบาล กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตและผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน
เบิกเท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินอัตราแนบท้าย รายการนอกเหนือจากอัตราแนบท้าย เบิกได้เต็มจำนวนเท่าที่จ่ายไปจริงแต่ “ไม่เกินหนึ่งพันบาท” ค่าพาหนะส่งต่อ ผู้ป่วยนอก ค่ารักษาพยาบาล (ตาม DRGs) ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค ยาที่มีค่าใช้จ่ายสูง ผู้ป่วยใน
53
เงื่อนไขการจ่ายเงินให้กับสถานพยาบาล กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง
เงื่อนไขการจ่ายเงินให้กับสถานพยาบาล กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง ค่ารักษาพยาบาลครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินทั้งหมดที่ได้จ่ายไปจริงแต่ “ไม่เกินแปดพันบาท” ค่าห้องและค่าอาหาร/ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค ผู้ป่วยใน เบิกไม่ได้ ผู้ป่วยนอก
54
แนวปฏิบัติของสถานพยาบาล
EMCO ได้รับค่ารักษาพยาบาลตาม DRGs สำเนาเอกสารไม่อนุมัติจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลให้กับผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัว ออกใบรับรองแพทย์กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง สถานพยาบาลของเอกชน กรณีผู้ป่วยนอก หากฐานข้อมูลสมบูรณ์ ให้ขอเลขอนุมัติเพื่อสมัครเข้าสู่ระบบระบบเบิกจ่ายตรงประเภทผู้ป่วยนอก โดยระบุเป็น “การสมัครขอใช้สิทธิกรณีฉุกเฉิน” กรณีผู้ป่วยใน ถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยวิธีการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาล สถานพยาบาลของทางราชการ
55
แนวปฏิบัติของผู้มีสิทธิ
ยื่นเบิก ณ ส่วนราชการต้นสังกัด พร้อมทั้งแนบใบรับรองแพทย์และหลักฐานการไม่อนุมัติการจ่ายเงินจาก สปสช. (ถ้ามี) ผู้มีสิทธิรับรองตนเองในใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล (แบบ 7131) พร้อมทั้งระบุว่า “โรงพยาบาล มิได้เบิกค่ารักษาพยาบาลในระบบ” (EMCO)
56
แนวปฏิบัติของส่วนราชการ
ให้ผู้มีอำนาจอนุมัติตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยวิธีการเบิกจ่าย เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ พิจารณาอนุมัติการเบิกจ่าย กรณีผู้มีสิทธิได้ทำสัญญาประกันภัยไว้ ให้เบิกค่ารักษาพยาบาลเฉพาะส่วน ที่ขาดจากสัญญาประกันภัย
57
การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ณ ส่วนราชการต้นสังกัด (กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง ประเภทผู้ป่วยใน)
ก่อนวันที่ 1 ม.ค. 57 เบิกได้ครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินทั้งหมดเท่าที่ได้จ่ายไปจริง แต่ไม่เกินสี่พันบาท ค่าห้องและค่าอาหาร และค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ ในการบำบัดรักษาโรค ใช้อัตราเดิม หลังวันที่ 1 ม.ค. 57 เบิกได้ครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินทั้งหมดเท่าที่ได้จ่ายไปจริง แต่ไม่เกินแปดพันบาท ค่าห้องและค่าอาหาร และค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ ในการบำบัดรักษาโรค ใช้อัตราใหม่
58
การตรวจสุขภาพประจำปี
59
ค่าตรวจสุขภาพประจำปี
ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ เฉพาะผู้มีสิทธิ ตรวจได้ 7 รายการ อายุต่ำกว่า 35 ปี ตรวจได้ 16 รายการ อายุมากกว่า 35 ปี ตามปีงบประมาณ ปีละ 1 ครั้ง ค่าตรวจสุขภาพประจำปี
60
การตรวจเอกซเรย์ปอด (Chest X-Ray)
Film Mass Digital ว. ๓๖๒
61
จบการบรรยาย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.