งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย
นพ.อำนวย กาจีนะ อธิบดีกรมควบคุมโรค ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘

2 ๑. ความเป็นมา ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ประเทศต่างๆ ทั่วโลกตกลงร่วมมือกันเพื่อกวาดล้างโปลิโอ ซึ่งในขณะนั้นมีผู้ป่วยโปลิโอจำนวนมากทั่วโลกต้องพิการและเสียชีวิต ประเทศไทย ปลอดโปลิโอมากว่า ๑๘ ปี โดยพบผู้ป่วยรายสุดท้าย เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๐ ภูมิภาคเอเชียใต้และตะวันออกได้ผ่านการรับรองเป็นภูมิภาคปลอดโปลิโอเมื่อ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๗ เชื้อโปลิโอ wild type ๒ หมดไปแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ พบผู้ป่วยเพียง อัฟกานิสถาน และปากีสถาน (๕๑ ราย) ผู้ป่วยโปลิโอทั้งหมดในปัจจุบัน เกิดจากเชื้อ... Wild Polio type ๑ และ ๓ (พบสุดท้าย ปี ๒๕๕๕) เชื้อในวัคซีนซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากไวรัสวัคซีนชนิดที่ ๒ ปี ๒๕๕๗ ๓๕๙ ราย

3 ๒. แผนระดับโลกของการกวาดล้างโปลิโอในฉากสุดท้าย
Polio Eradication and Endgame Strategic Plan มุ่งเน้นการดำเนินการและความร่วมมือจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก ต่างจากแผนเดิมที่เร่งรัดการดำเนินการเฉพาะในประเทศที่ยังมีการระบาด มุ่งกวาดล้างไวรัสทุกชนิดทั้ง wild virus และ เชื้อไวรัสสายพันธุ์วัคซีน ในปีพ.ศ. ๒๕๕๘ ถึง ๒๕๕๙ จะมุ่งเน้นการกวาดล้างไวรัสสายพันธุ์วัคซีนชนิดที่ ๒ ก่อน เนื่องจาก wild poliovirus ชนิดที่ ๒ หมดไปจากโลกตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงไม่มีความจำเป็นต้องใช้ไวรัสวัคซีนชนิดที่ ๒ อีกต่อไป ไวรัสสายพันธุ์วัคซีนชนิดที่ ๒ มีการกลายพันธุ์เป็นสาเหตุก่อโรคและทำให้เกิดการระบาดในหลายประเทศ ประเทศสมาชิกทั่วโลกได้รับรองข้อมติเพื่อขับเคลื่อนการกวาดล้างโปลิโอ ในการประชุมสมัชชาอนามัยโลกครั้งที่ ๖๕

4 เป้าหมาย: การกวาดล้างไวรัสโปลิโอสายพันธุ์วัคซีนชนิดที่ ๒ ให้หมดไปจากโลก
Wild polio virus ชนิดที่ ๒ หมดไปจากโลกแล้ว คงเหลือแต่ชนิดที่ ๑ และ ๓ ไวรัสโปลิโอสายพันธุ์วัคซีนชนิดที่ ๒ ที่ใช้ในปัจจุบัน ในคน กำจัดโดยเปลี่ยนชนิดวัคซีนจากชนิด t-OPV (type 1, 2, 3) เป็น b-OPV (type 1, 3) ในห้องปฏิบัติการ กำจัดโดยทำลายสิ่งส่งตรวจที่อาจมีเชื้อปนเปื้อน

5 วัตถุประสงค์หลัก ๔ ประการของ Polio Eradication & Endgame Strategic Plan 2013-2018
การเฝ้าระวังค้นหาผู้ป่วยและการควบคุมการระบาด 1 การนำวัคซีน IPV มาใช้ และการสับเปลี่ยนวัคซีน t-OPV เป็น b-OPV (Switch) 2 การกักกันเชื้อในห้องปฏิบัติการ (Lab containment) 3 การสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพโดยใช้การกวาดล้างโปลิโอเป็นเครื่องมือ 4

6 กลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีนโปลิโอ
เพิ่ม IPV 1 ครั้ง แก่ เด็กอายุ 4 เดือน ทุกคน ครั้งที่ อายุ ชนิดของวัคซีนโปลิโอ 1 2 เดือน OPV1 และ DTP-HB1 2 4 เดือน IPV1, OPV2 และ DTP-HB2 3 6 เดือน OPV3 และ DTP-HB3 4 1 ปี 6 เดือน OPV4 และ DTP4 5 4 ปี OPV5 และ DTP5 + กลุ่มเป้าหมายในการให้วัคซีน IPV เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 4 เดือน ขึ้นไป ทุกคน ทั้งที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบตามกำหนดการให้วัคซีน กรณีที่เด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลังอายุ 4 เดือน เป็นต้นไป ขอให้ฉีดวัคซีน IPV พร้อมกับหยอดวัคซีน OPV ในครั้งแรกที่พบ และหยอดวัคซีน OPV ต่ออีก 4 ครั้งตามกำหนดการเดิม ถ้าเด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลัง 4 เดือน ให้ฉีด IPV + หยอด OPV ในครั้งแรก และให้ OPV ต่ออีก 4 ครั้งตามกำหนดการเดิม

7 แผนการกวาดล้างโปลิโอในระดับโลก
Introduce at least one dose of IPV into routine immunization Switch tOPV to bOPV Withdraw bOPV & routine OPV use 2016 Before end 2015 เอาไวรัสวัคซีนชนิดที่ ๒ ออกจากวัคซีนชนิดรับประทานที่ใช้อยู่เดิม ซึ่งจะดำเนินการพร้อมกันทั่วโลกในเดือนเมษายน (ใช้ bivalent OPV ซึ่งประกอบด้วยไวรัสวัคซีนชนิดที่ ๑ และ ๓ แทน trivalent OPV ซึ่งประกอบด้วยไวรัสวัคซีนชนิดที่ ๑, ๒, ๓) และจะทำลาย t-OPV ให้หมดไปจากโลก นำวัคซีนโปลิโอชนิดฉีดซึ่งเป็นวัคซีนเชื้อตาย (IPV) มาใช้ ๑ เข็ม เพื่อให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อไวรัสทั้ง ๓ ชนิด เพื่อปิดช่องว่างขณะใช้ bivalent OPV ซึ่งเด็กที่ได้รับ bivalent OPV จะไม่มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสโปลิโอชนิดที่ ๒ อีกทั้งการใช้ IPV ไม่มีความเสี่ยงที่จะเกิดอัมพาตจากเชื้อไวรัสในวัคซีน การสร้างเสริมความเข้มแข็งของระบบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคอย่างต่อเนื่อง

8 การเก็บกลับ & ทำลาย tOPV
กิจกรรมสำคัญ การนำวัคซีน IPV มาใช้ Switch t-OPV to b-OPV/ การเก็บกลับ & ทำลาย tOPV Validation 1 ธ.ค. 58 23-28 เม.ย. 59 29 เม.ย. 59 SUN MON TUE WED THURS FRI SAT APRIL 2016 27 28 29 30 31 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 MAY 2016 National Switch day ตรวจรับรองการสับเปลี่ยนวัคซีนและการเก็บกลับทำลาย National Validation day

9 กิจกรรมสำคัญสำหรับกระบวนการ switch และการ Validation
Switch vaccine Validation กิจกรรม บริหารจัดการให้มีวัคซีนโปลิโอ (IPV/tOPV/bOPV) ใช้ในหน่วยบริการ อย่างเพียงพอ ตามกรอบเวลาที่กำหนด เก็บกลับ tOPV และเผาทำลายในระดับจังหวัดตามมาตรฐาน ภาคเอกชนใช้มาตรการทางกม. ให้เรียกกลับโดยบริษัท กลุ่มผู้ดำเนินการ เภสัชกร (จังหวัด, CUP) หัวหน้ากลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย กิจกรรม สุ่มประเมินรับรองผลสำเร็จในการดำเนินงานของหน่วยบริการ ให้การรับรองผลสำเร็จในการดำเนินงานในภาพของจังหวัด ส่งผลการรับรองไปยังคณะกรรมการระดับเขตและระดับชาติภายในกรอบเวลาที่กำหนด กลุ่มผู้ดำเนินการ หัวหน้างานควบคุมโรค สสจ. ผู้รับผิดชอบงาน EPI สสจ. สสอ. ผู้แทนจากหน่วยงานภายนอกกระทรวง กลุ่มผู้ดำเนินการในแต่ละด้านทำงานเป็นอิสระต่อกัน

10 กลไกการตัดสินใจและบริบาลระดับประเทศ
แผนกวาดล้างโปลิโอของประเทศไทย คณะกรรมการระดับชาติเพื่อการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ คณะกรรมการรับรอง ผลการกวาดล้างโปลิโอแห่งชาติ คณะกรรมการที่ปรึกษาทางวิชาการ คณะทำงานระดับชาติในการขับเคลื่อนการบริหารจัดการและกักกันเชื้อ คณะกรรมการระดับเขต คณะกรรมการรับรองระดับจังหวัด

11 กลไกบริหารจัดการสำหรับการสับเปลี่ยนวัคซีนและ การรับรองประเมินผลสำเร็จ
กลไกบริหารจัดการสำหรับการสับเปลี่ยนวัคซีน และการรับรองประเมินผลสำเร็จ การเก็บกลับและทำลาย วัคซีน Trivalent OPV การรับรองประเมินผลสำเร็จ คณะกรรมการระดับชาติเพื่อการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัดตามพันธะสัญญา คณะกรรมการขับเคลื่อนการเก็บกลับและทำลาย trivalent OPV ระดับจังหวัด คณะกรรมการอำนวยการประเมินผลความสำเร็จในการสับเปลี่ยน tOPV เป็น bOPV ระดับเขต คณะกรรมการรับรองผล การสับเปลี่ยนวัคซีนจาก tOPV เป็น bOPV ระดับจังหวัด คณะกรรมการขับเคลื่อนการเก็บกลับและทำลาย trivalent OPV กรุงเทพมหานคร คณะทำงานประเมินผลการสับเปลี่ยนวัคซีนจากtOPV เป็น bOPV ระดับอำเภอ

12 ประเด็นขอความร่วมมือ (๑)
กรมควบคุมโรคเป็นผู้จัดการระดับประเทศในการกวาดล้างโปลิโอ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เร่งรัดการขึ้นทะเบียนวัคซีน b-OPV โดยเร็ว ใช้มาตรการทางกฎหมายในการเก็บกลับและทำลายวัคซีนในภาคเอกชน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นเจ้าภาพหลักในส่วนการกักกันเชื้อในห้องปฏิบัติการ กรมการแพทย์ร่วมดำเนินการและสนับสนุนวิชาการด้านการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพร่วมดำเนินการ (สถานบริการเอกชน, อสม.) ความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ รวมถึงหน่วยบริการทางการแพทย์นอกกสธ เช่น กรุงเทพมหานคร ภาคเอกชน มหาวิทยาลัย กองทัพ เป็นต้น ผู้ตรวจราชการฯ เขตสุขภาพที่ แนะนำ ติดตามควบคุมกำกับและสนับสนุนการดำเนินงานของจังหวัด

13 ประเด็นขอความร่วมมือ (๒)
สสจ.ทุกจังหวัดเป็นเจ้าภาพหลักในการดำเนินการ และให้การสนับสนุนการดำเนินงานตามแนวทาง ทั้งนี้ กรมคร.ได้ประชุมซักซ้อมกับบุคลากร ที่เกี่ยวข้องระดับเขตและจังหวัดแล้วเมื่อเดือนตุลาคม 2558 สสจ จัดทำแผนปฏิบัติการ/จัดตั้งคณะกรรมการ/อบรมบุคลากร

14


ดาวน์โหลด ppt การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google