ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
PLANFIN 60 เขตสุขภาพที่ 12
2
Planfin 60 PLANFIN60 1.รายได้-ค่าใช้จ่าย 2.ซื้อยา วขภ. ฯ
3.ซื้อวัสดุอื่น 4.บริหารเจ้าหนี้ 5.บริหารลูกหนี้ 6.แผนลงทุน 7.สนับสนุน รพ.สต. PLANFIN60
3
Planfin 60 Worksheet แผนที่ 1.รายได้-ค่าใช้จ่าย
REVENUE PLANFIN60 EXPENSE แผนที่ ซื้อยา วชภ.ฯ แผนที่ 3.ซื้อวัสดุอื่น แผนที่ 4.บริหารเจ้าหนี้ แผนที่ 5.บริหารลูกหนี้ แผนที่ 6.แผนลงทุน แผนที่ 7.สนับสนุน รพ.สต. Worksheet PLANFIN60
4
แนวทางการปรับ PlanFin เพื่อบริหารความเสี่ยงจาก PlanFin Analysis
Risk Factors Key Factors How to 1.ความเสี่ยง ด้านกระแสเงินสด EBITDA ปรับให้ EBITDA บวก เพื่อมีกระแสเงินสดเพียงพอ ในการดำเนินงานและลงทุน ลดความเสี่ยงในการขาดสภาพคล่อง -จัดซื้อร่วมในอัตราที่ต่อปีเพิ่มขึ้น ทำ RDU ลดมูลค่าใช้ยา -ควบคุมกำกับสัดส่วนค่าแรงต่อรายจ่ายให้เป็นไปตาม FTE ในระดับที่เหมาะสม ให้ FTE ไม่เกิน 100 % ถ้า FTE เกิน 100 % ต้องมีแผน LOI เพิ่ม productivity ถ้าไม่มีพิจารณาปรับย้าย -เพิ่มสัดส่วนรายได้ NonUc เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด จากการทำ Service plan เพิ่มการตรวจสุขภาพประจำปี แนวทางเก็บเงินผู้ป่วยนอกเวลา กระจายความเสี่ยงโครงสร้างรายได้ (Revenue Diversify) 2.ความเสี่ยง ด้านการลงทุน Investment < 20% EBITDA เพื่อป้องกัน Over Investment และ ทำให้เกิดภาระค่าใช้จ่ายผูกพันในระยะยาว -ทบทวน ศึกษาความคุ้มค่าในการลงทุนมีการลงทุนจากทุกแหล่งเงินที่เหมาะสมโดยขออนุมัติจังหวัด เขต -ถ้า EBITDA และ NWC ติดลบ ให้ชะลอการลงทุน ด้วยเงินบำรุง ต้องใช้งบประมาณลงทุนเท่านั้นหรือต้องปรับเกลี่ยภายในจังหวัดเพื่อลงทุนแทน 3.ความเสี่ยง ด้านเงินทุนหมุนเวียน สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน เพื่อให้มีเงินทุนหมุนเวียนเพียงพอในการดำเนินงานและลดความเสี่ยงในการขาดสภาพคล่อง อันจะนำไปสู่วิกฤติการเงิน -กำหนดนโยบายวงจรเงินสด (Cash cycle) ที่เหมาะสม เก็บหนี้ ชำระหนี้ วัสดุคงคลังให้หน่วยงานมีเงินสดเพียงพอในการดำเนินงาน -หาแหล่งเงินทุน มีแผนการจัดหาเงินบริจาคประจำปี -กรณีไม่มี/ไม่พอ หน่วยบริการที่ไม่มีเงินทุนไม่พอ เขตเป็นคนกลาง (ธนาคารเขตสุขภาพ) ในการทำ LOAN with LOI มีการผ่อนชำระคืนตามกำหนด -โรงพยาบาลที่มีวิกฤตการเงินต้องทำ Business plan และ LOI
5
เกณฑ์ Risk score Planfin
Key Factors Criteria 1.EBiTDA บวก = Normal ลบ = RISK ความเสี่ยงด้านกระแสเงินสด 2.Investment<20% EBITDA <20% =Normal >20 % = RISK ความเสี่ยงด้านการลงทุน 3.สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน >1 = NORMAL <1= RISK ความเสี่ยงด้านเงินทุนหมุนเวียน Risk score planfin 8 แบบ
6
ตารางการปรับ PlanFin เพื่อบริหารความเสี่ยงจาก PlanFin Analysis
แบบ EBITDA บวก=Normal ลบ = Risk % Investment ต่อ EBITDA <20% Normal >20% Risk สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน < 1 = Risk > 1 = Normal การปรับ PlanFin 1 Normal ไม่ต้องปรับ 2 Risk ทบทวนการลงทุนอีกครั้ง 3 ทำ Feasibility study 4 ปรับลดการลงทุนให้ < 20% EBITDA เพื่อเงินเหลือจาก EBITDA – ลงทุน จะไปเพิ่ม NWC 5 ปรับ EBITDA ให้เป็น + 6 และ ทบทวนการลงทุนอีกครั้ง เพื่อเงินเหลือจาก EBITDA – ลงทุน 7 และ ทบทวนการลงทุนอีกครั้ง ควร ลงทุนให้ < 20% EBITDA 8 และ ชะลอการลงทุน
7
สรุปการปรับ Planfin (ณ 28 ตค.59)
ประเทศ PlanFin แบบ EBITDA บวก=Normal ลบ = Risk % Investment ต่อ EBITDA <20% Normal >20% Risk สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน < 1 = Risk > 1 = Normal ก่อนปรับ หลังปรับ จำนวน (แห่ง) 1 Normal 169 193 2 Risk 255 291 3 163 159 4 136 111 5 21 6 32 33 7 59 50 8 61 38
8
กลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสวิกฤติการเงิน แยกรายเขต (28 ตค.59)
ประเทศ เขต แบบ 4 แบบ 6 แบบ 8 รวม (แห่ง) (Risk) (Moderate Risk) (High Risk) 1 19 8 12 39 2 7 10 3 6 5 14 4 16 24 15 18 26 21 9 11 รวม 111 33 38 182
9
ภาพรวม ก่อนปรับ-หลังปรับ Planfin 60
ประเทศ Risk ประเภท ก่อนปรับ หลังปรับ จำนวนแห่ง การดำเนินการ (รับ-จ่าย) EBITDA บวก 720 (80.35%) 754 (84.15%) การลงทุน (กระแสเงินสด) % Investment ต่อ EBITDA 20% 479 (53.45%) 538 (60.05%) แบบ 4 136 111 แบบ 6 Moderate Risk 32 33 แบบ 8 High Risk 61 (6.81%) 38 (4.24%) Total Risk 229 (25.55%) 128 (20.31%) หลังปรับ Planfin พบว่าความเสี่ยงทางการเงินลดลง
10
สรุปแผนทางการเงิน เขตสุขภาพที่ 12
สรุปแผนทางการเงิน เขตสุขภาพที่ 12 สรุปแผนประมาณการ เกินดุลทุกแห่ง รวมรายได้ (ไม่รวมงบลงทุน) 19,171,272,961.15 รวมค่าใช้จ่าย (ไม่รวมค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย) 18,297,401,605.71 EBITDA 873,871,355.44 วงเงินลงทุน 20% EBITDA 174,774,271.09 ลงทุน > EBITDA 20% -63,691,554.44
11
สรุปการปรับ Planfin (ณ 28 ตค.59)
เขต 12 สรุปการปรับ Planfin (ณ 28 ตค.59) PlanFin แบบ EBITDA บวก=Normal ลบ = Risk % Investment ต่อ EBITDA <20% Normal >20% Risk สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน < 1 = Risk > 1 = Normal ก่อนปรับ หลังปรับ จำนวน (แห่ง) 1 Normal 10 19 2 Risk 39 41 3 17 13 4 11 5 6 7 8
12
Planfin Analysis เขตสุขภาพที่ 12 (ณ 28 ตค.59)
แบบ 1 แบบ 2 แบบ 3 แบบ 4 รวม สงขลา 5 9 2 1 17 พัทลุง 11 ตรัง 4 10 สตูล 7 ปัตตานี 8 12 ยะลา นราธิวาส 6 13 19 41 78 1.รพ.สมเด็จฯนาทวี 2.รพ.พัทลุง 3.รพ.เจาะไอร้อง 4.รพ.ย่านตาขาว 5.รพ.สิเกา
13
Risk score Planfin เขตสุขภาพที่ 12 (ณ 28 ตค.59)
รพ.สมเด็จฯ นาทวี รพ.เจาะไอร้อง รพ.พัทลุง รพ.ย่านตาขาว รพ.สิเกา
14
ข้อสรุป PlanFin สสจ.อนุมัติ/ผู้ตรวจราชการเห็นชอบเรียบร้อยแล้ว
คาดการณ์ความเสี่ยงการเงิน ระดับ 7 : โอกาสเสี่ยง 10% กลุ่ม 4 (5/78 แห่ง) คิดเป็น ความเสี่ยงการเงิน ระดับ 7 ประมาณ 6.41 % การบริหาร Planfin บริหารความเสี่ยงการดำเนินงาน : บริหารแผนรับ-จ่ายให้ EBITDAบวก บริหารความเสี่ยงการลงทุน : มีกระแสเงินสดที่เพียงพอในการลงทุน บริหารความเสี่ยงทุนสำรองสุทธิ : มีเงินหมุนเวียนที่เหมาะสม วิเคราะห์ความเสี่ยง (Planfin Analysis) ตาม Planfin หน่วยบริการ
15
Governance Excellence
มาตรการ 2 ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management) 2.1ทุกหน่วยบริการจัดทำแผนทางการเงิน ปี 2560 2.2 วางระบบเฝ้าระวังตามแผนทางการเงินหน่วยบริการ (รายเดือน) 2.3 ควบคุม กำกับด้วยเปรียบเทียบแผนการเงินกับผลการดำเนินงาน (ไตรมาส) ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.ร้อยละของหน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ร้อยละ 100 2.ร้อยละของหน่วยบริการมีผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่า หรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกิน ร้อยละ 5) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
16
TimE LINE ในการบริหาร Planfin
รายการ ระยะเวลา เขต/จังหวัด 1.กำหนดแนวทาง มาตรการในการบริหารการเงินการคลัง พย.59 2.เฝ้าระวัง ติดตาม กำกับ กลุ่มที่มีความเสี่ยง ทุกเดือน 3.ตรวจสอบ/ประเมินผลการดำเนินงานตาม Planfin 4.เยี่ยมหน่วยบริการ/นิเทศงาน หาแนวทางแก้ไขร่วมกัน 1-3 เดือน หน่วยบริการ 1.จัดทำแผนเงินบำรุงเสนอ นพ.สสจ.อนุมัติ 2.กำหนดแนวทางในการบริหารการเงินการคลัง กำกับ Planfin ควบคู่กับรายงานงบการเงิน 3.ติดตามผลเทียบแผนทุกเดือน วิเคราะห์หาสาเหตุที่ไม่เป็นไปตามแผน 4.ทำแผนปรับประสิทธิภาพ จัดทำ Business plan/ทบทวน ทุกไตรมาส
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.