งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล สาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

2 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

3 หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน
การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ หลักการพื้นฐานของ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน

4 หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ)
การตัดสิน การให้ระดับ และการรายงานผลการเรียน การเลื่อนชั้นและการซ้ำชั้น เกณฑ์การวัด และประเมินผลการเรียน เกณฑ์การจบการศึกษา

5 เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
เรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา/กิจกรรม เพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐานตามโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดและรายวิชา/กิจกรรม เพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด ผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

6 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด ต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิต ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลารประเมินเมินคลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

7 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด ต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

8 หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ)
ระเบียนแสดงผลการเรียน ปพ.1 เอกสารหลักฐานการศึกษา ประกาศนียบัตร ปพ.2 แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา ปพ.3

9 การให้ระดับผลการเรียน
ประถมศึกษา มัธยมศึกษา รายวิชาให้ระดับผลการเรียนเป็น ระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ ระบบที่ใช้คำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน รายวิชาให้ระดับผลการเรียนเป็น ระบบตัวเลข 8 ระดับ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็น ผ่าน และ ไม่ผ่าน

10 ระดับผลการเรียน เกณฑ์ ช่วงคะแนน 4 ดีเยี่ยม 80-100 3.5 ดีมาก 75-79
ระดับมัธยมศึกษา ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียน 8 ระดับ ระดับผลการเรียน เกณฑ์ ช่วงคะแนน 4 ดีเยี่ยม 3.5 ดีมาก 3 ดี 2.5 ค่อนข้างดี 2 น่าพอใจ 1.5 พอใช้ 1 ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ 0 ต่ำกว่าเกณฑ์ ระดับประถมศึกษา ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียน ระดับคุณภาพ ระบบตัวเลข ตัวอักษร ร้อยละ

11 และประเมินผลการเรียน IS
การออกแบบการวัด และประเมินผลการเรียน IS การวางแผนการประเมินระดับวิชา การออกแบบการประเมินในหน่วยการเรียนรู้

12 IS 1- การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) เป็นสาระที่มุ่งให้ผู้เรียน กำหนดประเด็นปัญหา ตั้งสมมุติฐาน ค้นคว้า แสวงหาความรู้และฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้ IS 1- การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) เป็นสาระที่มุ่งให้ผู้เรียน กำหนดประเด็นปัญหา ตั้งสมมุติฐาน ค้นคว้า แสวงหาความรู้และฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้ IS 1- การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) เป็นสาระที่มุ่งให้ผู้เรียน กำหนดประเด็นปัญหา ตั้งสมมุติฐาน ค้นคว้า แสวงหาความรู้และฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้

13 IS 2- การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation)
เป็นสาระที่มุ่งให้ผู้เรียน นำความรู้ที่ได้รับ มาพัฒนาวิธีการการถ่ายทอด/สื่อสารความหมาย/แนวคิด ข้อมูลและองค์ความรู้ ด้วยวิธีการนำเสนอ เหมาะสม หลากหลายรูปแบบ และมีประสิทธิภาพ

14 IS 3- การนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (Global Education and Social Service Activity)
เป็นสาระที่มุ่งให้ผู้เรียน นำ/ประยุกต์องค์ความรู้ ตามความเป็นจริงของโลกไปสู่การปฏิบัติหรือนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เกิดบริการสาธารณะ (Public Service) ซึ่งมุ่งสู่ความเป็นพลเมืองโลก (Global Citizen)

15 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3
รายวิชาสังคมศึกษาฯ หน่วยการเรียนรู้ 3 “ครอบครัวสุขสันต์” หน่วยการเรียนรู้ 1 “เงินเงินทองทอง” หน่วยการเรียนรู้ 2 “รักษ์สิ่งแวดล้อม” IS1-IS2 30 % 50 % 20 %

16 รายวิชาค้นคว้าเพื่อเรียนรู้
รายวิชาเพิ่มเติมในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 รายวิชาค้นคว้าเพื่อเรียนรู้ (Knowledge Inquiry) ตั้งประเด็นคำถาม สมมุติฐาน วางแผนดำเนินงาน ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่างๆ สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า เขียนรายงาน เอกสารวิชาการนำเสนอผลจากการศึกษาค้นคว้า โดยสื่อรูปแบบต่างๆ ตัดสินผลการเรียนรายปี ผลการประเมิน ผลการประเมิน

17 รายวิชาเพิ่มเติมในระดับชั้นมัธยมศึกษา
การศึกษาค้นคว้า และสร้างองค์ความรู้(Research and Knowledge Formation) การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation) ตั้งประเด็นคำถาม สมมุติฐาน วางแผนดำเนินงาน ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่างๆ สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า เขียนรายงาน เอกสารวิชาการนำเสนอผลจาก การศึกษาค้นคว้า โดยสื่อรูปแบบต่างๆ ตัดสินผลรายภาค ตัดสินผลรายภาค

18 The end


ดาวน์โหลด ppt หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google