งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Roadmap : “การพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Roadmap : “การพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Roadmap : “การพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ”
10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย First S-curve 1.ยานยนต์ 2.อิเล็กทรอนิกส์ 3.ท่องเที่ยวรายได้ดี/เชิงสุขภาพ 4.เกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 5.แปรรูปอาหาร New S-curve 6.หุ่นยนต์ 7.การบินและโลจิสติกส์ 8. เชื้อเพลิงชีวภาพ/เคมีชีวภาพ 9. ดิจิตอล 10. การแพทย์ครบวงจร (Draft) ชักชวนการลงทุน/ ทำตลาด10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย พัฒนากระบวนการผลิต / ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเชิงพาณิชย์ ซึ่งได้มาตรฐานสากลใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย เตรียมปัจจัยการผลิต ฐานข้อมูล / โครงสร้างพื้นฐาน สำหรับการพัฒนา 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ Global Market Management Big Data & Foresight Monitoring & Evaluation Link to CLMV / AEC / Global E-Market Tourism (Food, Medical) Standardization Testing & Methodology Standard Training Audit & Certification Standardization Training Course Labor Skill Standard Re-skill / Multi-skill improvement Train the Trainers HRD Audit & Certification Labor Skill Industrial Cluster Innovation Bridge Innovation Innovation in Industries Data Use in Factory & Business Industrial Productivity Platform Productivity Productivity Improvement

2 แผนงานบูรณาการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ
หน่วยงานเจ้าภาพ : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน หน่วย : ล้านบาท งบประมาณปี พ.ศ. 2562 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2.การสร้างความสามารถในการแข่งขัน แผนฯ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 1 เป้าหมายแผนฯ 12 เป้าหมายที่ 4 เพิ่มผลิตภาพการผลิตของประเทศ 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 ตัวชี้วัดเป้าหมาย แผนฯ 12 4.1 ผลิตภาพการผลิตของปัจจัยการผลิตไม่ต่ำกว่าร้อยละ 2.5 ต่อปี ผลิตภาพการผลิตของปัจจัยแรงงานไม่ต่ำกว่าร้อยละ 2.5 ต่อปี ยุทธศาสตร์จัดสรร งปม. ปี 62 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 2.2 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแข็งยั่งยืนและส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยสู่เกษตรยั่งยืน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.2.1 การพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ 2 ผลสัมฤทธิ์/Impact อุตสาหกรรมศักยภาพมีผลิตภาพการผลิตรวมเพิ่มขึ้นเพื่อนำไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 และเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตไปสู่ระดับโลก 3 เป้าหมาย แผนบูรณาการ/Outcome เป้าหมายที่ 1 : พัฒนาปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุนและการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ (ต้นน้ำ) เป้าหมายที่ 2 : สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการมีผลิตภาพการผลิตและผลิตภาพแรงงานเพิ่มขึ้น / สถานประกอบการที่ได้มาตรฐานในอุตสาหกรรมศักยภาพเพิ่มขึ้น / สถานประกอบการมีการพัฒนาทักษะ เทคโนโลยี และนวัตกรรม สู่การผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูง (กลางน้ำ) เป้าหมายที่ 3 : การสร้างศักยภาพการแข่งขันการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมศักยภาพ (ปลายน้ำ) ตัวชี้วัด เป้าหมายแผน บูรณาการ ตัวชี้วัดที่ 1.1 : จำนวนฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ / โครงสร้างพื้นฐาน / กลุ่มเครือข่าย / หลักสูตรและมาตรฐานการพัฒนาทักษะแรงงาน เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดที่ 2.1 : ผลิตภาพการผลิตของสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10 / จำนวนสถานประกอบการที่ขยายการดำเนินงานหรือลงทุนใหม่ซึ่งได้มาตรฐานในอุตสาหกรรมศักยภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 ต่อปี ตัวชี้วัดที่ 3.1 : อัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมศักยภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 เป้าหมายคือ เพิ่มผลิตภาพการผลิต ผลิตภาพแรงงาน ส่งเสริมการรวมกลุ่มเครือข่าย มีฐานข้อมูลสำหรับวางแผนยุทธศาสตร์พัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมาย และมีผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น ระด้บผลสัมฤทธิ ปรับวัดระดับความสำเร็จระดับผลิตภัณฑ์ ตัวชี้วัดแนวทาง “กลุ่มเครือข่าย”เพื่อเป็นการส่งเสริมการรวมกลุ่ม ตัวชี้วัดที่ 2.1 “หรือการลงทุนใหม่” แนวทาง “ความรู้และ” ตัวชี้วัดแนวทาง “แผนและ” ข้อสังเกตกรรมาธิการ เน้น มีแผนพัฒนาแรงงานโดยให้สถานศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมโดยพัฒนาหลักสูตรและกำหนดแผนยุทธศาสตร์พัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ แผนพัฒนากำลังคนในระยะ 20 ปี มีเป้าหมายที่ชัดเจน ให้สอดคล้องกับ S-curve 4 แนวทาง (เจ้าภาพ) หน่วยงานเจ้าภาพ : 1.1.1 : พัฒนาการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ หน่วยงานเจ้าภาพ : 1.1.2 : พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิต / การพัฒนามาตรฐานที่สำคัญในอุตสาหกรรมศักยภาพ / การต่อยอดด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม หน่วยงานเจ้าภาพ : 1.1.3 : พัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานฝีมือแรงงาน หน่วยงานเจ้าภาพ : 2.1.1 : ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และระบบบริหารจัดการ เพื่อยกระดับผลิตภาพการผลิต / การสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงและการผลิตรูปแบบใหม่ที่สร้างมูลค่าเชิงพาณิชย์ / มีการลงทุนต่อยอดด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมจากงานวิจัย (Laboratory Scale) สู่ระดับอุตสาหกรรม (Industrial Scale) หน่วยงานเจ้าภาพ : 2.1.2 : ส่งเสริมมาตรฐานที่สำคัญในอุตสาหกรรมศักยภาพ หน่วยงานเจ้าภาพ : 2.1.3 : พัฒนาผู้ประกอบการและบุคลากรรวมทั้งแรงงานในอุตสาหกรรมศักยภาพให้มีความรู้และทักษะในการประกอบการหรือการทำงานที่สอดคล้องกับการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรม หน่วยงานเจ้าภาพ : 3.1.1 ส่งเสริมการทำตลาดในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมศักยภาพ หน่วยงานเจ้าภาพ : 3.1.2 ส่งเสริมความเชื่อมโยงอุตสาหกรรมไทยสู่ระดับสากล ตัวชี้วัดแนวทาง บริหารโครงการเป็นไปตามแผนร้อยละ 90 /มีข้อมูลประเมินผลการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ (Database & Management) สร้างหรือบริหารจัดการกลุ่มเครือข่ายที่ดีไม่น้อยกว่าระดับ 3 จาก 5 (Industrial Cluster) พัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิต (Industrial Productivity Platform) / มีกลไกการแปลงนวัตกรรมสู่ภาคอุตสาหกรรม (Innovation Bridge) อย่างเป็นระบบ (Productivity & Innovation) มีการจัดทำมาตรฐานการผลิตและผลิตภัณฑ์ รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐานด้านการทดสอบที่สำคัญในอุตสาหกรรมศักยภาพสอดคล้องกับระดับสากล (Standardization) จำนวนหลักสูตร และมาตรฐานการพัฒนาทักษะ องค์ความรู้ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรองรับ 10 อุตสาหกรรมศักยภาพ (Labor Skill Preparation) ร้อยละ 80 ของสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการมีผลิตภาพเพิ่มขึ้น (Productivity Improvement) สถานประกอบการมีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการผลิต/พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมูลค่าเชิงพาณิชย์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ (Innovation Implementation) สถานประกอบการได้รับการผ่านการประเมินเพื่อรับรองมาตรฐานสำคัญในอุตสาหกรรมศักยภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ (Audit & Certification) ร้อยละ 80 ของแรงงานที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะเพิ่มขึ้น (Labor Skill Improvement) ดัชนีการส่งออก (Export Index) ของสินค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมศักยภาพเพิ่มขึ้น (International Market) จำนวนความร่วมมือระหว่างประเทศในการยกระดับอุตสาหกรรมศักยภาพสู่อุตสาหกรรม 4.0 (International linkage) หน่วยงานที่รับผิดชอบ โครงการ (Project Based) - สศอ. - สปอ. - กสอ. - กสอ. - สศอ. - สป.วท สวทช. สวทน มว วศ วว. กสอ. - สมอ. - มว. - กพร. - สคช. สอศ. ศธ. สศอ. กสอ. มว. สป.วท สวทช. สวทน มว. สซ สทอภ. ศลช วว. สปอ กสอ. สศอ. สปอ. สมอ. กสอ. วว. - กพร. - สคช. - สอศ. - ศธ. - พณ - BOI - อก. 5


ดาวน์โหลด ppt Roadmap : “การพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google