งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
ปิ่นอนงค์ ศิลประกอบ รหัสประจำตัว ประกาศนียบัตร วิชาชีพครู

2

3

4

5 เนื้อเยื่อของพืช (plant tissue)
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยเซลล์ (cell) หลายๆเซลล์มารวมกลุ่มทำงานร่วมกัน กลุ่มของเซลล์ที่มาทำงานร่วมกันนี้เราเรียกว่า เนื้อเยื่อ (tissue) เนื้อเยื่อพืชแบ่งเป็น 2 ประเภท (ตามความสามารถในการแบ่งตัว) ได้แก่ 1.เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues) 2.เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues)

6 เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues)
กลุ่มของเซลล์ที่มีการเจริญและแบ่งตัวแบบไมโทซีส(mitosis) อยู่ตลอดเวลา ลักษณะของเนื้อเยื่อเจริญ ขนาดเล็ก ผนังบาง เซลล์แต่ละชนิดอยู่ชิดติดกันมาก ไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์ (intercellular space)

7 ตำแหน่งที่พบในส่วนต่าง ๆ ของพืช
1. เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem) คือเนื้อเยื่อที่อยู่บริเวณปลายยอด (shoot tip ) หรือ ปลายราก (root tip) ของพืช เมื่อมีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนเซลล์จะทำให้รากและลำต้นยืดยาวออก

8 1.เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem)

9 2. เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem)
คือเนื้อเยื่อที่อยู่บริเวณเหนือข้อ หรือโคนของปล้องในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น อ้อย ไผ่ ข้าวโพด หรือหญ้า เป็นต้น เมื่อมีการแบ่งตัวจะช่วยให้ปล้องยาวขึ้น

10 2. เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem)

11 3. เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem หรือ axillary meristem)
คือเนื้อเยื่อเจริญที่แบ่งตัวออกด้านข้างของลำต้นหรือราก เมื่อแบ่งตัวแล้วจะทำให้ลำต้น ราก ขยายขนาดออกทางด้านข้างหรือมีขนาดใหญ่ขึ้น บางคนอาจเรียกเนื้อเยื่อเจริญด้านข้างนี้อีกอย่างว่า แคมเบียม (cambium) แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ

12 3.1vascular cambium เป็น Cambium ที่เกิดขึ้นในกลุ่มท่อลำเลียง

13 3.2 cork cambium เป็น Cambium ที่เกิดในชั้น cortex หรือชั้น stele

14 เนื้อเยื่อถาวร เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues) หมายถึงกลุ่มของเซลล์ที่ในสภาพปกติไม่มีการแบ่งตัว โดยเซลล์เหล่านี้เจริญเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญอีกทีหนึ่ง

15 เนื้อเยื่อเจริญเชิงเดี่ยว
เนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ชนิดเดียวกัน มารวมกันเพื่อทำหน้าที่อย่างเดียวกัน แบ่งออกได้หลายชนิดตามตำแหน่งที่อยู่หรือตามหน้าที่และส่วนประกอบภายในเซลล์ ได้แก่ epidermis parenchyma collenchyma sclerenchyma

16 เนื้อเยื่อเจริญเชิงเดี่ยว
เอพิเดอร์มิส (epidermis) ปกป้องคุ้มครองเนื้อเยื่อต่าง ๆ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ผิวด้านนอก มีสารขี้ผึ้งพวกคิวติน (cutin) ฉาบอยู่เพื่อช่วยป้องกัน การระเหยของน้ำ ชั้นของคิวตินนี้เรียกว่า คิวติเคิล (cuticle)

17 เอพิเดอร์มิส (epidermis)
ปากใบ เซลล์ขน

18 เอพิเดอร์มิส (epidermis)
ช่องปากใบ เซลล์คุม ปากใบ

19 เนื้อเยื่อเจริญเชิงเดี่ยว
พาเรงคิมา (parenchyma) พบได้แทบทุกส่วนของอวัยวะพืช รูปร่างหลายแบบ บางเซลล์ค่อนข้างกลม รี ทรงกระบอกหรือเป็นเหลี่ยม มีช่องว่างระหว่างเซลล์ (intercellular space) ช่องว่างระหว่างเซลล์

20 พาเรงคิมา (parenchyma)
ตัดตามขวาง (cross section) ตัดตามยาว (long section)

21 พาเรงคิมา (parenchyma)
ช่องอากาศ (air space) สะสมแป้ง

22 เนื้อเยื่อเจริญเชิงเดี่ยว
คอลเลงคิมา (collenchyma) ผนังเซลล์หนามากตามมุมของเซลล์ ไม่สม่ำเสมอ เป็นการเพิ่มความยึดหยุ่น สารที่มาฉาบที่ผนังเป็นสารประกอบพวกเซลลูโลส และเพคติน ผนังเซลล์

23 คอลเลงคิมา (collenchyma)

24 คอลเลงคิมา (collenchyma)

25 เนื้อเยื่อเจริญเชิงเดี่ยว
สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma) ผนังเซลล์หนามาก สารที่มาฉาบเป็นสารพวกลิกนิน (lignin) เป็นโครงกระดูกหรือโครงร่างของพืช

26 เซลล์เส้นใย (fiber) รูปร่างของเซลล์ยาวมาก หัวแหลมท้ายแหลม
ผนังเซลล์หนามากเป็นสารประกอบลิกนิน

27 สเกลอรีด (scleried) รูปร่างหลายแบบ เช่น กลม รี หรือ รูปร่างยาวแต่ก็ยังสั้นกว่า fiber

28 เนื้อเยื่อเจริญเชิงซ้อน
เนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์หลายชนิดมาทำงานร่วมกัน ซึ่งเนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อนได้แก่ เนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำ แร่ธาตุ เรียกว่าไซเลม (xylem) และเนื้อเยื่อลำเลียงอาหาร  เรียกว่า โฟลเอ็ม (phloem)

29 เนื้อเยื่อเจริญเชิงซ้อน
ไซเลม (xylem) ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ ประกอบด้วย 1. vessel tracheid 3. xylem fiber 4. xylem parenchyma

30 ไซเลม (xylem) เทรคีด รูปร่างยาว หัวท้ายค่อนข้างแหลม ผนังเซลล์หนามี
เทรคีด รูปร่างยาว  หัวท้ายค่อนข้างแหลม  ผนังเซลล์หนามี  สารพวกลิกนินสะสม ผนังมีรูพรุนที่เรียกว่า pit

31 เวสเซล คล้ายท่อยาวๆ ที่ประกอบด้วยท่อสั้นๆหลายๆท่อมาต่อกัน
คล้ายท่อยาวๆ ที่ประกอบด้วยท่อสั้นๆหลายๆท่อมาต่อกัน ท่อสั้นแต่ละท่อเรียกว่า vessel member หรือ vessel element ผนังหนาเป็นสารพวกลิกนินมาสะสม มีช่องทะลุถึงกัน ซึ่งมีลักษณะเป็นรอยปรุหรือรูพรุนที่เรียกว่า perforation plate 

32 เนื้อเยื่อเจริญเชิงซ้อน
โฟลเอม (phloem) ลำเลียงอาหาร ประกอบด้วย 1.sieve tube 2. companion cell 3. Phloem parenchyma 4. phloem fiber

33 โฟลเอม (phloem)

34 sieve tube sieve tube เป็นท่อยาวๆ
ที่ประกอบด้วยท่อสั้นๆหลายๆท่อมาต่อกัน ท่อสั้นๆแต่ละท่อเรียกว่า sieve tube member หรือ sieve tube element

35 มัดท่อลำเลียง (vascular bundle)

36 มัดท่อลำเลียง (vascular bundle)

37

38 collenchyma epidermis sclerenchyma phloem xylem parenchyma


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google