ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
“ชุมชนทำได้ ไม่ยากอย่างที่คิด” ขอขอบคุณ ดร.ทรงยศ คำชัย สสจ.เชียงใหม่ จรรยา สืบนุช Super trainer ผู้บรรยาย ศิริลักษณ์ ขณะฤกษ์ ครูก.
2
วิวัฒนาการของงานสาธารณสุขมูลฐานแนวใหม่
3
การกำหนดค่ากลางของโครงการ
ค่ากลางฯ ไม่ใช่ งานที่กระทรวงสั่งให้ทำ เป็น... งานที่พื้นที่ส่วนใหญ่ (ระดับกลาง) ได้ทำแล้วประสบความสำเร็จ คือ ทำให้บรรลุผลเชิงคุณภาพ (ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ) อาจไม่ทำให้... บรรลุผลเชิงปริมาณ หรือตัวชี้วัดของกระทรวง โดยตรง
4
ประเภทของค่ากลาง ค่ากลาง ค่ากลางที่คาดหวัง ค่ากลางความสำเร็จ
5
กระบวนการยกระดับ โครงการสุขภาพด้วยตนเอง
6
ค่ากลางที่คาดหวังของแผนงาน/โครงการเรื่อง..
กิจกรรมสำคัญ ประเด็น งาน แผนงาน/ โครงการ เรื่องการจัดการสุขภาพ ผู้สูงอายุ 1.การเฝ้าระวังคัดกรองโดยประชาชน งาน 3-5 งาน 2. การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม งาน 3-5 งาน 3. มาตรการทางสังคม งาน 3-5 งาน 4. การบริหารจัดการโครงการ งาน 3-5 งาน
7
ประกาศ ค่ากลางที่คาดหวัง
ระดับจังหวัด สำหรับแผนงาน/ โครงการ ตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ 5กลุ่มวัย &สวล.
8
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนด
ค่ากลางของจังหวัด
9
การประเมินศักยภาพชุมชน
ประเภทการประเมิน การประเมินภายใน – พื้นที่ประเมินตนเอง เพื่อนำผลการประเมินไปปรับปรุง/ยกระดับงานที่ทำ การประเมินภายนอก – คนนอก (คปสอ. หรือ ผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัด/ระดับเขต) เป็นผู้ประเมิน เพื่อวัดระดับของการพัฒนา วางแผนสนับสนุน หรือ Benchmarks กับพื้นที่อื่น / ก่อน-หลัง
10
การประเมินศักยภาพชุมชนในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
เป็นสิ่งจำเป็นที่ทำให้ชุมชนรู้ศักยภาพตนเอง ควรทำก่อนและหลังการใช้ค่ากลาง - ก่อนใช้ค่ากลาง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานก่อนเริ่มต้นพัฒนาแผนงาน/โครงการ - หลังใช้ค่ากลาง ใช้ค่ากลางแล้ว 1 ปี แล้วนำไปเปรียบเทียบกับก่อนใช้ค่ากลาง แสดงถึงพัฒนาการของชุมชน ในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
11
การประเมินศักยภาพชุมชนในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ประเมินทั้ง 2 แบบ ประเมินรายกิจกรรม ประเมินภาพรวม
12
เกณฑ์ การ ประเมิน ศักยภาพ ชุมชน ด้วย ค่ากลาง
13
เกณฑ์การประเมิน ประเมินรายกิจกรรม
ระดับ 1 พื้นที่ทำงานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ 1 งาน หรือไม่ได้ทำ ระดับ 2 พื้นที่ทำงานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ 2 ถึง 3 งาน ระดับ 3 พื้นที่ทำงานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ 4 งานขึ้นไป หรือทุกงาน
14
นำกิจกรรมมาทำแบบประเมิน Check list
ประเมินรายกิจกรรม
15
เกณฑ์การประเมิน ประเมินภาพรวม
ระดับ 1 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม (4ก.) แล้วมี อย่างน้อย 1 กิจกรรม ที่ได้รับการประเมิน เป็นระดับ 1 ระดับ เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม(4ก.) แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการ ประเมินเป็นระดับ 2 และไม่มีกิจกรรม ที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 ระดับ เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้ว ทั้ง 4 กิจกรรมได้รับการประเมินเป็น ระดับ 3
16
ระดับ 4. เป็นพื้นที่. ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็น
ระดับ 4 เป็นพื้นที่...ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็น ระดับ 3 รวมทั้งมีงานที่เป็น นวัตกรรม สุขภาพ ชุมชน ประเมินตนเองส่งให้จังหวัดและ เตรียม จัดตั้งเป็น โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รน.สช.) ระดับ 5 เป็นพื้นที่...ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็น ระดับ 4 แล้ว เปิดเป็น รน.สช. รวมทั้งมี หลักฐานเชิงประจักษ์ที่พิสูจน์ได้ว่า กลุ่มเป้าหมายของแผนงาน/โครงการดังกล่าวมี การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ (เกิดกล่องสุดท้าย ของ SLM ของแผนงาน/โครงการนั้น) อย่าง น้อยร้อยละ 10 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดหรือ เป็นพื้นที่ที่สามารถนำค่ากลางไปสร้างแผนงาน/ โครงการในการดูแลสุขภาพตามกลุ่มอายุได้
17
ระดับรายกิจกรรม (สรุประดับ1-3)
ประเมินภาพรวม พื้นที่ ประเมินภาพรวม ระดับภาพรวม (ระดับ1-5) ระดับรายกิจกรรม (สรุประดับ1-3) มีนวัต กรรม เปิด รน.สช. รพ.สต ก
18
วิธีการประเมินศักยภาพชุมชนในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
นำกิจกรรมและงานของค่ากลางฯในเรื่องนั้นๆทำแบบประเมิน (Check list) พื้นที่ร่วมกันประเมินงานของค่ากลางฯ ที่พื้นที่ได้ทำแล้ว และยังไม่ได้ทำ นำผลมาเปรียบเทียบกับ เกณฑ์การประเมินรายกิจกรรม จนครบทั้ง 4 กิจกรรม ประเมินภาพรวม โดยใช้ เกณฑ์การประเมินภาพรวม จัดทำกราฟแท่ง เปรียบเทียบกับพื้นที่อื่น คพสอ./คปสอ. นำผลการประเมินวางแผนในการพัฒนาต่อไป
19
ตารางฝึกประเมินค่ากลางงานอนามัยแม่และเด็ก
ตัวอย่าง ตารางฝึกประเมินค่ากลางงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.สต. ประเมินรายกิจกรรม ก. 1 ก. 2 ก. 3 ก. 4 ระดับ1-3 รพ.สต ก รพ.สต ข รพ.สต ค รพ.สต ง รพ.สต จ
20
ตัวอย่าง รพ.สต. ประเมินภาพรวม ระดับภาพรวม (ระดับ1-5) มีนวัต กรรม
ตารางฝึกประเมินค่ากลางงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.สต. ประเมินภาพรวม ระดับภาพรวม (ระดับ1-5) ระดับรายกิจกรรม (สรุประดับ1-3) มีนวัต กรรม เปิด รน.สช. รพ.สต ก รพ.สต ข รพ.สต ค รพ.สต ง รพ.สต จ
21
ตารางช่วยประเมินศักยภาพชุมชน
ตัวอย่าง ตารางช่วยประเมินศักยภาพชุมชน พื้นที่ ประเมินรายกิจกรรม ประเมินภาพรวม ระดับภาพรวม (ระดับ1-5) กิจกรรมสำคัญ ระดับรายกิจกรรม (สรุประดับ1-3) มีนวัต กรรม เปิด รน.สช. ก.1 ก.2 ก.3 ก.4 ระดับ1-3 พื้นที่ ก. 3 2 1 - พื้นที่ ข. พื้นที่ ค. พื้นที่ ง. พื้นที่ จ. 4 พื้นที่ ฉ. 5
22
DM+HT FS
23
ผลการประเมินศักยภาพการดำเนินงาน โครงการป้องกันเบาหวานและความดันฯ
เป็นตำบลจัดการฯ ต้นแบบ ดำเนินงานครบตามค่ากลาง ดร.ทรงยศ คำชัย สสจ. เชียงใหม่
24
เชื่อมั่น และ ทำให้เป็นจริง
Thank You
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.