ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ทฤษฎีการเรียนรู้
2
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
3
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
ความเชื่อพื้นฐานของ Constructivism มีรากฐานมาจาก ริบททางสังคม ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ (Jean Piajet) ทฤษฎีบริบททางสังคม ของวิก็อทสกี้ (Lev Vygotsky)
4
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
แนวคิด ความรู้ทางปัญญา สร้างขึ้นจาก ประสบการณ์ในการแก้ปัญหา และสามารถนำไปเป็นพื้นฐาน ในการแก้ปัญหา หรือสามารถนำไป อธิบายสถานการณ์อื่น ๆ ได้ ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ ด้วยวิธีการต่างๆ กัน โดยอาศัยประสบการณ์และ โครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิม ความสนใจ และแรงจูงใจภายในตนเอง เป็นจุดเริ่มต้น ครูมีหน้าที่ ในการจัดการ ให้ผู้เรียน ได้ปรับขยายโครงสร้าง ทางปัญญา ของผู้เรียนเอง ภายใต้ ข้อสมมุติฐาน 2, ความขัดแย้งทางปัญญาก่อให้เกิดแรงจูงใจในการไตร่ตรองเพื่อขจัดความขัดแย้ง 1.สถานการณ์ปัญหาและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา 3.กระตุ้นให้มีโครงสร้างใหม่ทางปัญญา
5
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม จะต้องเป็นผู้สร้างความรู้
หลักการ การเรียนรู้ผู้เรียน จะต้องเป็นผู้กระทำ (active) การเรียนรู้ผู้เรียน จะต้องเป็นผู้สร้างความรู้ อ เน้นการสร้างความรู้มากกว่าการถ่ายทอด โครงสร้างทางปัญญา (schema)
6
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
Cognitive Constructivism ทฤษฎี Constructivism Social Constructivism มีรากฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการของเพีอเจต์ ทฤษฎีนี้ถือว่าผู้เรียนเป็นผู้กระทำ (active) และเป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นในใจเอง ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทในการก่อให้เกิด ความไม่สมดุลทางพุทธิปัญญาขึ้น เป็นเหตุให้ผู้เรียน ปรับความเข้าเดิมที่มีอยู่ให้เข้ากับข้อมูลข่าวสารใหม่ จนกระทั่ง เกิดความสมดุลกับพุทธิปัญญา หรือเกิดความรู้ใหม่ขึ้น เป็นทฤษฎีที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎี พัฒนาการของวิก็อทสกี้ ซึ่งถือว่าผู้เรียนสร้างความรู้ ด้วยการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น (ผู้ใหญ่หรือเพื่อน) ในขณะที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรืองาน ในสภาวะสังคม(Social Context) ซึ่งเป็นตัวแปรที่สำคัญและขาดไม่ได้ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมทำให้ผู้เรียน สร้างความรู้ด้วยการเปลี่ยนแปรความเข้าใจเดิมให้ถูกต้องหรือซับซ้อนกว้างขวางขึ้น อ
7
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
คุณลักษณะร่วมของทฤษฎี Constructivism 1.ผู้เรียนสร้างความเข้าใจใ นสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง 2.การเรียนรู้สิ่งใหม่ขึ้นกับความรู้เดิม และความเข้าใจที่มีอยู่ในปัจจุบัน 4.การจัดสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่คล้ายคลึงกับชีวิตจริง ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย 3.การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มีความสำคัญต่อการเรียนรู้
8
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
ทฤษฎีซึ่งเป็นที่ยอมรับกันมาก ในระหว่างนักจิตวิทยาการเรียนรู้ และนำมาประยุกต์ใช้กันมากกับสถานการณ์ การเรียนการสอน ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ของออซูเบล (Ausubel) ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ ของบรูเนอร์
9
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีการค้นพบโดยการเรียนรู้ของบลูเนอร์
แนวคิดพื้นฐาน 1.การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนมรปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง 2. เน้นความสำคัญของผู้เรียนโดยให้โอกาสผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม 3.ในการสอนควรจะเริ่มจากประสบการณ์ที่ผู้เรียนคุ้นเคย หรือประสบการณ์ที่ใกล้ตัวไปหาประสบการณ์ที่ไกลตัว เพื่อง่ายต่อความเข้าใจ
10
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
ทฤษฎีการค้นพบโดยการเรียนรู้ของบลูเนอร์ ความสำคัญ 1.ผู้เรียนจะเพิ่มพลังทางสติปัญญา 2.เน้นรางวัลที่เกิดจากความอิ่มใจในสัมฤทธิผลในการแก้ปัญหามากกว่ารางวัล หรือเน้นแรงจูงใจภายใน มากกว่าแรงจูงใจภายนอก 3.ผู้เรียนจะเรียนรู้การแก้ปัญหาด้วยการค้นพบและสามารถนำไปใช้ได้ 4.ผู้เรียนจะจำสิ่งที่เรียนรู้ได้ดีและได้นาน
11
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
ทฤษฎีการค้นพบโดยการเรียนรู้ของบลูเนอร์ สรุป คนทุกคนมีพัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจ หรือการรู้คิดโดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า Acting, Imagine และ Symbolizing ซึ่งอยู่ในขั้น พัฒนาการทางปัญญาคือ Enactive, Iconic และ Symbolic representation ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดชีวิตมิใช่เกิดขึ้นช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิตเท่านั้น บรูเนอร์เห็นด้วยกับ พีอาเจต์ ที่ว่า มนุษย์เรามีโครงสร้างทางสติปัญญา (Cognitive structure) มาตั้งแต่เกิดในวัยเด็กจะมีโครงสร้างทางสติปัญญาที่ไม่ซับซ้อน เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะทำให้ โครงสร้างทางสติปัญญาขยาย และซับซ้อนเพิ่มขึ้น หน้าที่ของครูคือ การจัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่ช่วยเอื้อต่อการขยายโครงสร้างทางสติปัญญาของผู้เรียน
12
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล ประเภทของการเรียนรู้ 1. การเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย(Meaningful Reception Learning) 2.การเรียนรู้โดยการรับแบบท่องจำโดยไม่คิดหรือแบบนกแก้วนกขุนทอง (Rote Reception Learning) 3.การเรียนรู้โดยการค้นพบอย่างมีความหมาย (Meaningful Discovery Learning) 4.การเรียนรู้โดยการค้นพบแบบท่องจำโดยไม่คิด หรือแบบนกแก้วนกขุนทอง (Rote Discovery Learning)
13
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล การเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย (Meaningful Reception Learning) ตัวแปรที่สำคญ 1. Materials คือที่จะต้องเรียนรู้จะต้องมีความหมาย ซึ่งหมายความว่าจะต้องเป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์ กับสิ่งที่เคยเรียนรู้และเก็บไว้ในโครงสร้างพุทธิปัญญา (cognitive structure) 2.ผู้เรียนจะต้องมีประสบการณ์ และมีความคิดที่จะเชื่อมโยงหรือจัดกลุ่มสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ให้สัมพันธ์กับความรู้หรือความรู้เดิม 3.ความตั้งใจของผู้เรียน
14
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล สรุป ทฤษฎีการเรียนรู้ของออซุเบลเป็นทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมที่เน้นความสำคัญของครู ว่าครูมีหน้าที่ที่จะจัดเรียบเรียงความรู้อย่างมีระบบ และสอนความคิดรวบยอดใหม่ที่นักเรียนจะต้องเรียนรู้ ซึ่งแตกต่างกับแนวคิดของพีอาเจต์และบรูนเนอร์ที่เน้นความสำคัญของผู้เรียน นอกจากนี้ ทฤษฎีของออซุเบลเป็นทฤษฎีที่อธิบายการเรียนรู้อย่างมีความหมายเท่านั้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.