ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
- เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
เงินอุดหนุน ปี - เงินอุดหนุนทั่วไป - เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
2
1 เงินอุดหนุนทั่วไป(80,028.998 ล้านบาท)
เงินอุดหนุน ปี 54 (158, ล้านบาท) 1. ตามอำนาจหน้าที่ 52, 2.บริการสาธารณสุข 890 3. ชดเชยค่าโดยสารรถไฟ 0.8 4. บริหารสนามกีฬา 5.ส่งเสริมศักยภาพการศึกษาท้องถิ่น 6.อาหารเสริมนม 11, 7. อาหารกลางวัน 15, 1 เงินอุดหนุนทั่วไป(80, ล้านบาท) 8. เบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์ 9.ศูนย์บริการทางสังคม 3.5 10.สถานสงเคราะห์คนชรา
3
เงินอุดหนุน ปี 54 (158,375.43 ล้านบาท)
2 เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ(78, ล้านบาท) 1. ถ่ายโอนบุคลากร 1, 2.เงินเดือนครู 11, 3. เรียนฟรี 15 ปี 2,942.57 4.ค่ารักษาพยาบาลครู 500 5.ค่าเช่าบ้าน 80 6.บำเหน็จบำนาญครู 1,543.61 7. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 6, 8. ก่อสร้างอาคารเรียนและ ศพด. 9.ครุภัณฑ์โรงเรียน 10.ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงานภาคใต้ 11.เบี้ยคนพิการ 4, 12.สูบน้ำด้วยไฟฟ้า 13. แผนสิ่งแวดล้อม 1, 14.แก้ปัญหาน้ำนครราชสีมา 15.ประกันรายได้ผู้อายุ 31,068.31 16. อสม. 7, 17. อปท.เร่งด่วนเชิงรุก 8,
4
เงินอุดหนุนด้านการศึกษาท้องถิ่น ปี2554
วงเงินทั้งสิ้น 49, ล้านบาท เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 23,161.90 1. เงินเดือนครู 11, 2. เรียนฟรี 15 ปี 2, 3.ค่ารักษาพยาบาลครู 500 4.ค่าเช่าบ้าน 80 5.บำเหน็จบำนาญครู 1,543.61 6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 6, 7. อาคารเรียนและ ศพด 8. ครุภัณฑ์การศึกษา เงินอุดหนุนทั่วไป 26,757.55 1. บริหารสนามกีฬา 2.ส่งเสริมศักยภาพการศึกษาท้องถิ่น 3.อาหารเสริมนม 11, 4. อาหารกลางวัน 15,
5
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (ด้านการศึกษา) -
3. การจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเรียนฟรี15 ปี - ค่ารายหัว ค่าหนังสือเรียน - อุปกรณ์การเรียน - เครื่องแบบนักเรียน - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
6
ด้านการศึกษา เรียนฟรี 15 ปี โดยรัฐกำหนดรายการค่าใช้จ่าย 5 รายการดังนี้ 1 ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา (ค่ารายหัว)
7
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว)
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว) ระดับอนุบาลศึกษา ระดับ เดิม ปี ปี ปี อนุบาล , , เทอม - เทอม
8
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว)
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว) ระดับประถมศึกษา ระดับ เดิม ปี ปี ปี 53 ประถม , , , , เทอม - เทอม
9
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว)
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว) ระดับ ม.ต้น(ม1-ม3) ระดับ เดิม ปี ปี ปี ม.ต้น , , , , เทอม ,183 - เทอม , ,466
10
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว)
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว) ระดับ ม.ปลาย (ม.4 – ม.6) ระดับ เดิม ปี ปี ปี ม.ปลาย , , , , เทอม 2 1, , ,533 - เทอม 1 1, , ,716
11
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว)
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว) ระดับ ม.ปลาย สายอาชีพ(อาชีวะ) สาขาช่างยนต์ ไฟฟ้า สถาปัตย์ อิเล็กทรอนิกส์ 6,500 บ สาขาคหกรรม ,500 บ สาขาพาณิชยกรรม 4,900 บ
12
ด้านการศึกษา 2 ค่าหนังสือเรียน จัดสรรให้แก่นักเรียนทุกคน ตั้งแต่อนุบาล-ม.6 ในกลุ่ม 8 สาระตามหลักสูตร ดังนี้
13
ด้านการศึกษา 3 เครื่องแบบนักเรียน จัดสรรให้แก่นักเรียนทุกคน ภาคเรียนละ 1 ชุด ดังนี้ - อนุบาล 300 บ/คน/ปี - ป.1 – ป บ./คน/ปี - ม.1-ม บ./คน/ปี - ม.4-ม บ./คน/ปี
14
ด้านการศึกษา 4 ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ได้แก่ กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรม เช่น ค่ายลูกเสือ ยุวกาชาด เนตรนารี กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ และบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคอมพิวเตอร์ ดังนี้ - อนุบาล 215 บ/คน/ภาคเรียน - ประถมศึกษา 240 บ/คน/ภาคเรียน - ม.1-ม บ/คน/ภาคเรียน - ม.4-ม. 6 และสายอาชีพ บ/คน/ภาคเรียน
15
ด้านการศึกษา 5 อุปกรณ์การเรียน จัดสรรให้แก่นักเรียนทุกคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับซื้ออุปกรณ์ในการเรียน การฝึกและการสอน ของผู้เรียน โดยมีรายการสำคัญประกอบด้วย แบบฝึกหัด เครื่องเขียน วัสดุฝึก และอุปกรณ์อื่น ๆ ดังนี้ - อนุบาล 100 บ/คน/ภาคเรียน - ป.1 – ป บ./คน/ภาคเรียน - ม.1-ม บ./คน/ภาคเรียน - ม.4-ม. 6 และสายอาชีพ 230 บ./คน/ภาคเรียน
16
การจัดสรรเงินเรียนฟรี15 ปี ตามหนังสือด่วนมากที่ มท0893
การจัดสรรเงินเรียนฟรี15 ปี ตามหนังสือด่วนมากที่ มท0893.3/ว2224 ลงวันที่ 21 ตุลาคม 2553 1. กำหนดให้เบิกจ่าย ระหว่าวันที่ 1 พ.ย มี.ค.54 2. ให้ใช้แผนการใช้จ่ายเงินเป็นเอกสารประกอบการเบิกจ่าย 3. กรณีเป็นโรงเรียนถ่ายโอน ให้เบิกหักผลักส่งลงโรงเรียน 4. กรณีเป็นโรงเรียนที่ อปท. ตั้งเอง ให้ดำเนินการดังนี้ 4.1 ถ้าโรงเรียนพร้อม ให้เบิกหักผลักส่งลงโรงเรียน และใช้จ่ายตามแผน(ในข้อ 2) หากมีเงินเหลือจ่ายก็เป็นรายได้ของ โรงเรียน
17
4.2 ถ้าโรงเรียนไม่พร้อม (แต่ไม่ได้หมายความว่าจะไม่พร้อมตลอดไป) ให้ อปท. ดำเนินการไปก่อนจนกว่าโรงเรียนจะพร้อม ซึ่งต้องดำเนินการตามแผน(ในข้อ 2) เช่นกัน และต้องเบิกจ่ายเงินให้แล้วเสร็จภายใน 31 มี.ค. 54 หากมีเงินเหลือจ่ายที่ไม่มีหนี้ผูกพันให้ส่งคืนจังหวัด *ห้ามมิให้เบิกหักผลักส่งเงินให้โรงเรียนใกล้วันที่ 31 มี.ค. 54 โดยมีเจตนาเพื่อไม่ต้องส่งเงินคืนจังหวัด
18
ศูนย์เด็กเล็กที่ อปท. รับโอนจากส่วนราชการเดิม
ศูนย์เด็กเล็ก ปี 54 1.จัดตั้งขึ้นเองตามความต้องการ ความพร้อม และความเหมาะสม (สิทธิของ อปท. ตามอำนาจหน้าที่) ศูนย์เด็กเล็กที่ อปท. รับโอนจากส่วนราชการเดิม กรมการพัฒนาชุมชน (เป็นของ อปท.) เด็ก 3 ขวบ สปช. (เด็กเป็นของ อปท. ทรัพย์สินไม่ใช่)
19
ค่าตอบแทนรวมค่าครองชีพ
ศูนย์เด็กเล็ก ปี 54 ค่าตอบแทนรวมค่าครองชีพ วุฒิปริญญาตรี ตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์ ค่าตอบแทน เดือนละ 7,940 บาท(ขั้นต้น) และค่าครองชีพ 1,500 บาท เมื่อรวมกับค่าตอบแทน 9,440 บาท วุฒิ ปวช. ค่าตอบแทน เดือนละ 5,760 บาท(ขั้นต้น) และค่าครองชีพ เมื่อรวมกับค่าตอบแทนแล้วไม่ต่ำกว่า 8,200 บาท เงินประกันสังคม 5 %
20
วัสดุการศึกษา คนละ 300 บาท ต่อปี ค่าพาหนะเหมาจ่ายนำเด็กส่งสถานพยาบาล
ศูนย์เด็กเล็ก วัสดุการศึกษา คนละ 300 บาท ต่อปี ค่าพาหนะเหมาจ่ายนำเด็กส่งสถานพยาบาล คนละ 10 บาท จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2553
21
ศูนย์เด็กเล็ก ค่าใช้จ่ายในการศึกษาต่อหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย สำหรับผู้ดูแลเด็ก ทั้งศูนย์ตั้งเองและรับโอน ให้จัดตั้งงบประมาณ ศูนย์ละ 40,000 บาท -เงินสวัสดิการต่าง ๆ
22
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (ด้านการศึกษา) – ต่อ -
2. ศูนย์เด็กเล็ก เฉพาะของกรมศาสนา * ค่าตอบแทนและเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว (ผดด.) * เงินประกันสังคม ร้อยละ 5 * วัสดุการศึกษารายหัวเด็ก * ค่าพาหนะนำเด็กส่งสถานพยาบาล * ค่าใช้จ่ายในการศึกษาต่อ ปริญญาตรีของ ผดด.
23
อาคารเรียนและอาคารประกอบโรงเรียนสังกัด อปท.
1. อาคารเรียนเด็กเล็ก (สน.ศท.อนุบาล 8) 2. อาคารเรียน 3 ชั้น (สน.ศท. 3/12) 3. อาคารเรียน 4 ชั้น (สน.ศท. 4/12) 4. อาคารอเนกประสงค์ (สน.ศท. ชั้นลอย) 5. ส้วม (สน.ศท.ส.10)
24
อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
1. สถ.ศพด. 1 2. สถ.ศพด. 2 3. สถ.ศพด. 3
25
4.ครุภัณฑ์การศึกษา ปี 2554 มี 7 รายการ ได้แก่
1. ครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 2. ครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการทางภาษา 3. ครุภัณฑ์ห้องวิทยาศาสตร์ 4. ครุภัณฑ์ห้องโสตทัศนูปกรณ์ 5. ห้องเคมี 6. ห้องฟิสิกส์ 7. ห้องชีววิทยา
26
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) ปี 54
1. อาหารเสริม (นม) 2. อาหารกลางวัน 3. สนามกีฬาที่ อปท. รับโอนจาก กกท. 4. ส่งเสริมศักยภาพการศึกษาท้องถิ่น
27
- จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2553
อาหารเสริม (นม) ปี 54 - จัดสรรให้ เด็กเล็ก เด็กอนุบาล และเด็กป.1 - ป.6 - จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2553
28
อาหารเสริม (นม) - ร.ร. สพฐ. คนละ 7 บาท จำนวน 260 วัน - ร.ร. อปท. คนละ 7 บาท จำนวน 260 วัน - ร.ร. กศน. คนละ 7 บาท จำนวน 280 วัน (พื้นที่ราบสูง) ร.ร. กรมสามัญศึกษา คนละ 7 บาท จำนวน 280 วัน (ศึกษาสงเคราะห์ /ศึกษาพิเศษ) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ คนละ 7 บาทจำนวน 280 วัน – ศูนย์เด็กเล็ก(อปท./สปช./พช./กรมศาสนา) คนละ 7 บาท จำนวน 280 วัน
29
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) -
อาหารเสริม(นม) ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทนใช้สอย และวัสดุ
30
อาหารกลางวัน ปี 54 - จัดสรรให้ เด็กเล็ก เด็กอนุบาล และเด็กป.1 - ป.6
- จัดสรรให้ เด็กเล็ก เด็กอนุบาล และเด็กป.1 - ป.6 - จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2553 - เฉพาะโรงเรียนสังกัด สพฐ. และ อปท. (1) จำนวนเด็ก 121 คนขึ้นไป1 จัดสรร 85 % (2) จำนวนเด็กไม่เกิน 120 คน จัดสรร 100 % (3) โรงเรียนในโครงการพระราชดำริ จัดสรร 100 % (4) โรงเรียน 3 จว.ใต้และ 4 อ. จว.สงขลา จัดสรร 100 %
31
อาหารกลางวัน - ร.ร. สพฐ. คนละ 13 บาท จำนวน 200 วัน - ร.ร. อปท. คนละ 13 บาท จำนวน 200 วัน - ร.ร. กศน. คนละ 13 บาท จำนวน 280 วัน (พื้นที่ราบสูง) ร.ร. ตชด. คนละ 13 บาท จำนวน 200 วัน - กรมพัฒนาสังคม ฯ คนละ 13 บาท จำนวน 280 วัน - ศูนย์เด็กเล็ก (อปท./สปช./พช./กรมศาสนา) คนละ 13 บาท จำนวน 280 วัน
32
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) -
1. อาหารกลางวัน (เป็นสถานศึกษาในสังกัด อปท. และ ศพด.(กรมศาสนา) แบบ 1-2) ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น ๆ โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารสถานศึกษา * ให้เบิกหักผลักส่งลงสถานศึกษา
33
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) -
2. อาหารกลางวัน (เป็นสถานศึกษาในสังกัด อื่น และ ศพด.(กรมศาสนา) แบบ 3) ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดเงินอุดหนุน
34
ส่งเสริมศักยภาพการศึกษาท้องถิ่น
ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนละ 15,000 บาท ค่าเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตความเร็วสูง โรงเรียนละ , บาท
35
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) -
ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น ๆ โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารสถานศึกษา * ให้เบิกหักผลักส่งลงสถานศึกษา
36
ส่งเสริมศักยภาพการศึกษาท้องถิ่น
- โครงการรณรงค์เพื่อป้องกันยาเสพติด - โครงการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาเยาวชน - กิจกรรมค่ายเยาวชน กิจกรรมศูนย์เยาวชนต้นแบบ - โครงการสอนเด็กเร่ร่อนในเขตเมือง - โครงการส่งเสริมการศึกษา 5 จว.ชายแดนภาคใต้
37
ให้ อปท. ตั้งงบประมาณในหมวดค่าตอบแทนใช้สอย และวัสดุ
งบโครงการ - ต่อ - - โครงการประชาสัมพันธ์การจัดการศึกษาของ อปท. จัดสรรให้ อปท.ที่เป็นเจ้าภาพระดับภาค ๆ ละ 1,000,000 บ - โครงการแข่งขันกีฬานักเรียนสังกัด อปท. จัดสรรให้ อปท.ที่เป็นเจ้าภาพระดับภาค เจ้าภาพระดับประเทศ ให้ อปท. ตั้งงบประมาณในหมวดค่าตอบแทนใช้สอย และวัสดุ
38
งบโครงการ - ต่อ - โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน จัดสรรให้ อปท. ที่ผ่านการคัดเลือก โรงเรียน(ใหม่) ละ 1,000,000 บ สำหรับโรงเรียนที่ต่องเนื่องจากปีที่ผ่านมา โรงเรียนละ 200,000 บาท ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น ๆ โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารสถานศึกษา * ให้เบิกหักผลักส่งลงสถานศึกษา
39
งบค่าใช้จ่ายตามความจำเป็น - ต่อ -
งบค่าใช้จ่ายตามความจำเป็น - ต่อ - - ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา - โครงการอบรม สัมมนา บุคลากรทางการศึกษา - ตั้งงบประมาณตามความเหมาะสม โดยคำนึงถึงจำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษา อปท. ทั้งที่มีโรงเรียนและไม่มีโรงเรียน ครูผู้ดูแลเด็ก จัดสรรให้ในอัตราคนละ 3,000 บาท
40
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) -
1. บุลคากรการศึกษา ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 2. ครู และครูผู้ดูแลเด็ก ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น ๆ โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารสถานศึกษา * ให้เบิกหักผลักส่งลงสถานศึกษา
41
(ร่าง)เงินอุดหนุนด้านการศึกษาท้องถิ่น ปี2555
วงเงินทั้งสิ้น 65, ล้านบาท เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 34,925.06 1. เงินเดือนครู 11, 2. เรียนฟรี 15 ปี 3, 3.ค่ารักษาพยาบาลครู 750 4.ค่าเช่าบ้าน 150 5.บำเหน็จบำนาญครู 1,543.61 6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 8, 7. อาคารเรียน 6, 8. ศพด , 8. ครุภัณฑ์การศึกษา 2, เงินอุดหนุนทั่วไป 29,555.56 1. บริหารสนามกีฬา 116 2.ส่งเสริมศักยภาพการศึกษาท้องถิ่น 1,460.28 3.อาหารเสริมนม 11, 4. อาหารกลางวัน 16,
42
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (ด้านการศึกษา) -
การจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเรียนฟรี15 ปี - ค่ารายหัว ค่าหนังสือเรียน - อุปกรณ์การเรียน - เครื่องแบบนักเรียน - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
43
ด้านการศึกษา เรียนฟรี 15 ปี โดยรัฐกำหนดรายการค่าใช้จ่าย 5 รายการดังนี้ 1 ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา (ค่ารายหัว)
44
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว)
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว) ระดับอนุบาลศึกษา ระดับ เดิม ปี ปี ปี อนุบาล , , เทอม - เทอม
45
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว)
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว) ระดับประถมศึกษา ระดับ เดิม ปี ปี ปี 53 ประถม , , , , เทอม - เทอม
46
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว)
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว) ระดับ ม.ต้น(ม1-ม3) ระดับ เดิม ปี ปี ปี ม.ต้น , , , , เทอม ,183 - เทอม , ,466
47
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว)
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว) ระดับ ม.ปลาย (ม.4 – ม.6) ระดับ เดิม ปี ปี ปี ม.ปลาย , , , , เทอม 2 1, , ,533 - เทอม 1 1, , ,716
48
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว)
เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว) ระดับ ม.ปลาย สายอาชีพ(อาชีวะ) สาขาช่างยนต์ ไฟฟ้า สถาปัตย์ อิเล็กทรอนิกส์ 6,500 บ สาขาคหกรรม ,500 บ สาขาพาณิชยกรรม 4,900 บ
49
ด้านการศึกษา 2 ค่าหนังสือเรียน จัดสรรให้แก่นักเรียนทุกคน ตั้งแต่อนุบาล-ม.6 ในกลุ่ม 8 สาระตามหลักสูตร ดังนี้ -อนุบาล 200 บาท ป บาท - ป บาท ป บาท - ป บาท ป บาท - ป บาท
50
ด้านการศึกษา 2 ค่าหนังสือเรียน จัดสรรให้แก่นักเรียนทุกคน ตั้งแต่อนุบาล-ม.6 ในกลุ่ม 8 สาระตามหลักสูตร ดังนี้ -ม บาท - ม บาท ม บาท - ม ,216 บาท ม.5 1,208 บาท - ม ,186 บาท
51
ด้านการศึกษา 3 เครื่องแบบนักเรียน จัดสรรให้แก่นักเรียนทุกคน ภาคเรียนละ 1 ชุด ดังนี้ - อนุบาล 300 บ/คน/ปี - ป.1 – ป บ./คน/ปี - ม.1-ม บ./คน/ปี - ม.4-ม บ./คน/ปี
52
ด้านการศึกษา 4 ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ได้แก่ กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรม เช่น ค่ายลูกเสือ ยุวกาชาด เนตรนารี กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ และบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคอมพิวเตอร์ ดังนี้ - อนุบาล 215 บ/คน/ภาคเรียน - ประถมศึกษา 240 บ/คน/ภาคเรียน - ม.1-ม บ/คน/ภาคเรียน - ม.4-ม. 6 และสายอาชีพ บ/คน/ภาคเรียน
53
ด้านการศึกษา 5 อุปกรณ์การเรียน จัดสรรให้แก่นักเรียนทุกคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับซื้ออุปกรณ์ในการเรียน การฝึกและการสอน ของผู้เรียน โดยมีรายการสำคัญประกอบด้วย แบบฝึกหัด เครื่องเขียน วัสดุฝึก และอุปกรณ์อื่น ๆ ดังนี้ - อนุบาล 100 บ/คน/ภาคเรียน - ป.1 – ป บ./คน/ภาคเรียน - ม.1-ม บ./คน/ภาคเรียน - ม.4-ม. 6 และสายอาชีพ 230 บ./คน/ภาคเรียน
54
การจัดสรรเงินเรียนฟรี15 ปี ตามหนังสือด่วนมากที่ มท0893
การจัดสรรเงินเรียนฟรี15 ปี ตามหนังสือด่วนมากที่ มท0893.3/ว2224 ลงวันที่ 21 ตุลาคม 2553 1. กำหนดให้เบิกจ่าย ระหว่าวันที่ 1 พ.ย มี.ค.54 2. ให้ใช้แผนการใช้จ่ายเงินเป็นเอกสารประกอบการเบิกจ่าย 3. กรณีเป็นโรงเรียนถ่ายโอน ให้เบิกหักผลักส่งลงโรงเรียน 4. กรณีเป็นโรงเรียนที่ อปท. ตั้งเอง ให้ดำเนินการดังนี้ 4.1 ถ้าโรงเรียนพร้อม ให้เบิกหักผลักส่งลงโรงเรียน และใช้จ่ายตามแผน(ในข้อ 2) หากมีเงินเหลือจ่ายก็เป็นรายได้ของ โรงเรียน
55
4.2 ถ้าโรงเรียนไม่พร้อม (แต่ไม่ได้หมายความว่าจะไม่พร้อมตลอดไป) ให้ อปท. ดำเนินการไปก่อนจนกว่าโรงเรียนจะพร้อม ซึ่งต้องดำเนินการตามแผน(ในข้อ 2) เช่นกัน และต้องเบิกจ่ายเงินให้แล้วเสร็จภายใน 31 มี.ค. 54 หากมีเงินเหลือจ่ายที่ไม่มีหนี้ผูกพันให้ส่งคืนจังหวัด *ห้ามมิให้เบิกหักผลักส่งเงินให้โรงเรียนใกล้วันที่ 31 มี.ค. 54 โดยมีเจตนาเพื่อไม่ต้องส่งเงินคืนจังหวัด
56
เงินเดือน ค่าตอบแทนและสวัสดิการ
ศูนย์เด็กเล็ก ปี 55 เงินเดือน ค่าตอบแทนและสวัสดิการ 1. หัวหน้าศูนย์ (ปรับเป็นข้าราชการแล้ว) เดือนละ 10,800 บาท หัวหน้าศูนย์ (ปรับเป็นข้าราชการในปี อัตรา) เดือนละ 10,200 บาท พนักงานจ้าง (ปรับเป็นข้าราชการในปี อัตรา) เดือนละ 10,200 บาท พนักงานจ้าง(ผู้มัทักษะ) เดือนละ 8,610 บาท 2. อัตราใหม่ ประมาณ 3,180 อัตรา
57
3. ค่ารักษาพยาบาล/เงินช่วยเหลือบุตร
ศูนย์เด็กเล็ก ปี 55 3. ค่ารักษาพยาบาล/เงินช่วยเหลือบุตร 4. เงินสวัสดิการสำหรับหัวหน้าศูนย์ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ - เงินประกันสังคม 5 %
58
วัสดุการศึกษา คนละ 600 บาท ต่อปี ค่าพาหนะเหมาจ่ายนำเด็กส่งสถานพยาบาล
ศูนย์เด็กเล็ก วัสดุการศึกษา คนละ 600 บาท ต่อปี ค่าพาหนะเหมาจ่ายนำเด็กส่งสถานพยาบาล คนละ 10 บาท จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2554
59
ศูนย์เด็กเล็ก ค่าใช้จ่ายในการศึกษาต่อหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย สำหรับผู้ดูแลเด็ก ทั้งศูนย์ตั้งเองและรับโอน ให้จัดตั้งงบประมาณ ศูนย์ละ 40,000 บาท
60
อาคารเรียนและอาคารประกอบโรงเรียนสังกัด อปท.
1. อาคารเรียนเด็กเล็ก (สน.ศท.อนุบาล 8) 2. อาคารเรียน 3 ชั้น (สน.ศท. 3/12) 3. อาคารเรียน 4 ชั้น (สน.ศท. 4/12) 4. อาคารอเนกประสงค์ (สน.ศท. ชั้นลอย) 5. ส้วม (สน.ศท.ส.10) 6. ค่าซ่อมแซม
61
อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
1. สถ.ศพด. 1 2. สถ.ศพด. 2 3. สถ.ศพด. 3
62
4.ครุภัณฑ์การศึกษา ปี 2554 มี 7 รายการ ได้แก่
1. ครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 2. ครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการทางภาษา 3. ครุภัณฑ์ห้องวิทยาศาสตร์ 4. ครุภัณฑ์ห้องโสตทัศนูปกรณ์ 5. ห้องเคมี 6. ห้องฟิสิกส์ 7. ห้องชีววิทยา 8. ครุภัณฑ์ห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์ 9. โน๊ตบุ๊ค
63
เงินเดือนครู และภารโรง
- เงินเดือนครู และภารโรง - บัญชีถือจ่ายเงินเดือนครู (จ. 18) - อัตราเงินเดือนเพิ่ม 4 % - เงินวิทยฐานะ - เงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว - ค่าตอบแทนพิเศษครูและภารโรงเงินเดือนเต็มขั้น - เงินสวัสดิการ การปฏิบัติงานประจำสำนักงานพื้นที่พิเศษ
64
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) ปี 55
1. อาหารเสริม (นม) 2. อาหารกลางวัน 3. สนามกีฬาที่ อปท. รับโอนจาก กกท. 4. ส่งเสริมศักยภาพการศึกษาท้องถิ่น
65
- จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2554
อาหารเสริม (นม) ปี 55 - จัดสรรให้ เด็กเล็ก เด็กอนุบาล และเด็กป.1 - ป.6 - จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2554
66
อาหารเสริม (นม) - ร.ร. สพฐ. คนละ 7.5 บาท จำนวน 260 วัน - ร.ร. อปท. คนละ 7.5 บาท จำนวน 260 วัน - ร.ร. กศน. คนละ 7.5 บาท จำนวน 280 วัน (พื้นที่ราบสูง) ร.ร. กรมสามัญศึกษา คนละ 7.5 บาท จำนวน 280 วัน (ศึกษาสงเคราะห์ /ศึกษาพิเศษ) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ คนละ 7.5 บาทจำนวน280 วัน – ศูนย์เด็กเล็ก(อปท./สปช./พช./กรมศาสนา) คนละ 7.5 บาท จำนวน 280 วัน
67
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) -
อาหารเสริม(นม) ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทนใช้สอย และวัสดุ
68
อาหารกลางวัน ปี 54 - จัดสรรให้ เด็กเล็ก เด็กอนุบาล และเด็กป.1 - ป.6
- จัดสรรให้ เด็กเล็ก เด็กอนุบาล และเด็กป.1 - ป.6 - จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2554 - เฉพาะโรงเรียนสังกัด สพฐ. และ อปท. (1) จำนวนเด็ก 121 คนขึ้นไป1 จัดสรร 100 % (2) จำนวนเด็กไม่เกิน 120 คน จัดสรร 100 % (3) โรงเรียนในโครงการพระราชดำริ จัดสรร 100 % (4) โรงเรียน 3 จว.ใต้และ 4 อ. จว.สงขลา จัดสรร 100 %
69
อาหารกลางวัน - ร.ร. สพฐ. คนละ 13 บาท จำนวน 200 วัน - ร.ร. อปท. คนละ 13 บาท จำนวน 200 วัน - ร.ร. กศน. คนละ 13 บาท จำนวน 280 วัน (พื้นที่ราบสูง) ร.ร. ตชด. คนละ 13 บาท จำนวน 200 วัน - กรมพัฒนาสังคม ฯ คนละ 13 บาท จำนวน 280 วัน - ศูนย์เด็กเล็ก (อปท./สปช./พช./กรมศาสนา) คนละ 13 บาท จำนวน 280 วัน
70
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) -
1. อาหารกลางวัน (เป็นสถานศึกษาในสังกัด อปท. และ ศพด.(กรมศาสนา) แบบ 1-2) ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น ๆ โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารสถานศึกษา -โครงการอาหารกลางวัน * ให้เบิกหักผลักส่งลงสถานศึกษา
71
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) -
2. อาหารกลางวัน (เป็นสถานศึกษาในสังกัด อื่น และ ศพด.(กรมศาสนา) แบบ 3) ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดเงินอุดหนุน
72
ส่งเสริมศักยภาพการศึกษาท้องถิ่น
1.ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนละ 20,000 บาท 2. ค่าเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตความเร็วสูง โรงเรียนละ , บาท 3. โครงการปรับปรุงห้องสมุด โรงเรียนละ 60,000 บาท 4. โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน สำหรับเป็นฐานในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต โรงเรียนละ 60,000 บาท 5.โครงการพัฒนา ศพด. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ศูนย์ละ 10,000 บาท
73
ส่งเสริมศักยภาพการศึกษาท้องถิ่น
6.ค่าปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน ให้ 40 % ของ จน.นร. ประถมศึกษา คนละ 320 บ. มัธยมศึกษาตอนต้น คนละ 1,2750บ.
74
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) -
ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น ๆ โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารสถานศึกษา * ให้เบิกหักผลักส่งลงสถานศึกษา สำหรับโครงการที่ จะเบิกจ่ายเมื่อได้รับเงินจัดสรรจาก สถ.
75
ส่งเสริมศักยภาพการศึกษาท้องถิ่น
- โครงการรณรงค์เพื่อป้องกันยาเสพติด - โครงการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาเยาวชน - กิจกรรมค่ายเยาวชน กิจกรรมศูนย์เยาวชนต้นแบบ - โครงการสอนเด็กเร่ร่อนในเขตเมือง - โครงการส่งเสริมการศึกษา 5 จว.ชายแดนภาคใต้
76
ให้ อปท. ตั้งงบประมาณในหมวดค่าตอบแทนใช้สอย และวัสดุ
งบโครงการ - ต่อ - - โครงการประชาสัมพันธ์การจัดการศึกษาของ อปท. จัดสรรให้ อปท.ที่เป็นเจ้าภาพระดับภาค ๆ ละ 2,000,000 บ - โครงการแข่งขันกีฬานักเรียนสังกัด อปท. จัดสรรให้ อปท.ที่เป็นเจ้าภาพระดับภาค เจ้าภาพระดับประเทศ ให้ อปท. ตั้งงบประมาณในหมวดค่าตอบแทนใช้สอย และวัสดุ
77
งบโครงการ - ต่อ - โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน จัดสรรให้ อปท. ที่ผ่านการคัดเลือก โรงเรียน(ใหม่) ละ 1,000,000 บ สำหรับโรงเรียนที่ต่องเนื่องจากปีที่ผ่านมา โรงเรียนละ 200,000 บาท ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น ๆ โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารสถานศึกษา * ให้เบิกหักผลักส่งลงสถานศึกษา
78
งบโครงการ - ต่อ - โครงการประกวดแผนพัฒนาการศึกษาดีเด่น -ระดับสถานศึกษา ๆ ละ 100,000 บ - ระดับ อปท. ๆ ละ 100,000 บ. ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น ๆ โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารสถานศึกษา * ให้เบิกหักผลักส่งลงสถานศึกษา
79
งบค่าใช้จ่ายตามความจำเป็น - ต่อ -
งบค่าใช้จ่ายตามความจำเป็น - ต่อ - - ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา - โครงการอบรม สัมมนา บุคลากรทางการศึกษา - ตั้งงบประมาณตามความเหมาะสม โดยคำนึงถึงจำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษา อปท. ทั้งที่มีโรงเรียนและไม่มีโรงเรียน ครูผู้ดูแลเด็ก จัดสรรให้ในอัตราคนละ 6,000 บาท
80
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) -
1. บุลคากรการศึกษา ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 2. ครู และครูผู้ดูแลเด็ก ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ ในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น ๆ โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารสถานศึกษา * ให้เบิกหักผลักส่งลงสถานศึกษา
81
การบริหารสนามกีฬาที่รับโอนจาก กกท.
ค่าตอบแทน (ผู้มีทักษะ) 8,200 บาท ค่าตอบแทน (ไม่มีวุฒิ) 6,580 บาท ค่าตอบแทน (ป.ตรี) 10,200 บาท เงินประกันสังคม 5 %
82
การบริหารสนามกีฬาที่รับโอนจาก กกท. - ต่อ -
ค่าปรับปรุงซ่อมแซมสนามกีฬา ขนาดใหญ่ ,000 บาท -ขนาดกลาง 600,000 บาท ขนาดเล็ก ,000 บาท ค่าสาธารณูปโภค ขนาดใหญ่ ,000 บาท -ขนาดกลาง 720,000 บาท ขนาดเล็ก ,000 บาท
83
การบริหารสนามกีฬาที่รับโอนจาก กกท. - ต่อ -
ค่าใช้จ่ายในการอบรมสัมมนาผู้รับผิดชอบดูแลสนามกีฬาถ่ายโอนระดับจังหวัด
84
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (อาคารเรียน) -
*การขออนุมัติเปลี่ยนแปลงภายในปีงบประมาณ - ขอเปลี่ยนแปลงแบบแปลน/รูปแบบรายการ แต่ต้องคง วัตถุประสงค์และเป้าหมายผลผลิตเดิม - เปลี่ยนแปลงสถานที่ก่อสร้าง -มีการสมทบเงินเพิ่มไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินที่ได้รับการจัดสรร * เป็นอำนาจของ อสถ. (ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ ฯ ข้อ 24
85
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (อาคารเรียน) -
*การขออนุมัติให้ใช้เงินเหลือจ่ายภายในปีงบประมาณ * เป็นอำนาจของ อสถ. (ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ ฯ ข้อ 25
86
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (อาคารเรียน) -
*การขออนุมัติเปลี่ยนแปลงข้ามปีงบประมาณ กรณีที่ลงนามในสัญญาไปแล้ว - เป็นการขอเปลี่ยนแปลงแบบแปลน/รูปแบบรายการ -คงวัตถุประสงค์และเป้าหมายผลผลิตเดิม -เพื่อให้สอดคล้องกับพื้นที่ดำเนินการจริง -มีการปรับลดวงเงินให้สอดคล้องกับปริมาณงาน
87
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (อาคารเรียน) -
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว - เป็นการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของงานก่อสร้าง - มิใช่เป็นการเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณที่กันไว้เบิกเหลื่อมปี - จึงเป็นอำนาจของ อสถ. ตามระเบียบเกี่ยวกับการพัสดุ ข้อ 58 - อสถ. มอบอำนาจให้ ผวจ. แล้ว ตามคำสั่ง สถ. ที่ 331/2552 ลว 6 พ.ค
88
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (อาคารเรียน) -
*การขออนุมัติเปลี่ยนแปลงข้ามปีงบประมาณ - เป็นการขอเปลี่ยนแปลงแบบแปลน/รูปแบบรายการ -คงวัตถุประสงค์และเป้าหมายผลผลิตเดิม -มีการสมทบวงเงินเพิ่ม -เป็นการเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณที่กันไว้เบิกเหลื่อมปี * เป็นอำนาจของสำนักงบประมาณ
89
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (อาคารเรียน) -
*การขอใช้เงินเหลือจ่ายข้ามปีงบประมาณ * เป็นอำนาจของสำนักงบประมาณ
90
โครงการไทยเข้มแข็ง *การแก้ไขรายละเอียดในสัญญาจ้างที่ไม่มีผลกระทบต่อรายละเอียดของรายการก่อสร้างที่ได้รับจัดสรร * เป็นอำนาจของ อสถ. ตามระเบียบเกี่ยวกับการพัสดุ ข้อ 58 - อสถ. มอบอำนาจให้ ผวจ. แล้ว ตามคำสั่ง สถ. ที่ 331/2552 ลว 6 พ.ค. 52
91
วงจรการคลัง ของสถานศึกษา
แผน3ปี/นโยบาย การตรวจสอบ แผน/โครงการ การบัญชี วงจรการคลัง ของสถานศึกษา งบประมาณ ฎีกาเบิกจ่าย รายได้ของสถานศึกษา การพัสดุ
92
โครงสร้างรายได้ของสถานศึกษา ที่ อปท.ตั้งงบประมาณให้
รายได้จัดหาเอง เงินอุดหนุน จากรัฐ และ ที่ อปท.ตั้งงบประมาณให้ เงินที่มีผู้อุทิศให้แก่สถานศึกษานั้นโดยเฉพาะ 2. เงินที่ได้จากการรับจ้าง และที่ได้จากการจำหน่ายสิ่งของ 3. เงินที่ได้จากการแสดงหรือกิจกรรมต่าง ๆ 4. เงินที่ได้จากการเรียกเก็บเป็นค่าบำรุงการศึกษา 5. เงินที่ได้จากบุคคลภายนอก เนื่องจากบุคคลนั้นได้รับประโยชน์จากการใช้ทรัพย์สินของสถานศึกษา 6. เงินที่ได้จากการจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สิน 7. ดอกผลที่เกิดจากเงินรายได้สถานศึกษา 8. รายได้อื่น ๆ เงินที่ได้จากการที่ อปท. ตั้งงบประมาณให้สถานศึกษา เงินอุดหนุนของรัฐที่ให้ อปท. ตั้งงบประมาณให้สถานศึกษา เช่น SBM /อาหารกลางวัน ฯลฯ 3. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เช่น เงินเรียนฟรี 15 ปี
93
ประมาณการรายได้ของสถานศึกษา
รับจริง ปี 2553 ประมาณการ ปี 2554 ก. รายได้จัดหาเอง เงินที่มีผู้อุทิศให้แก่สถานศึกษานั้นโดยเฉพาะ 2. เงินที่ได้จากการรับจ้าง และที่ได้จากการจำหน่ายสิ่งของ 3. เงินที่ได้จากการแสดงหรือกิจกรรมต่าง ๆ 4. เงินที่ได้จากการเรียกเก็บเป็นค่าบำรุงการศึกษา 5. เงินที่ได้จากบุคคลภายนอก เนื่องจากบุคคลนั้นได้รับประโยชน์จากการใช้ทรัพย์สินของสถานศึกษา 6. เงินที่ได้จากการจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สิน 7. ดอกผลที่เกิดจากเงินรายได้สถานศึกษา 8. รายได้อื่น ๆ
94
ประมาณการรายได้ของสถานศึกษา
รับจริง ปี 2553 ประมาณการ ปี 2554 ข. รายได้จากเงินอุดหนุนและที่ อปท.ตั้งงบประมาณให้ 1. เงินอุดหนุนของรัฐที่ให้ อปท. ตั้งงบประมาณให้สถานศึกษา เช่น ค่าอาหารกลางวัน เงิน SBM เงินส่งเสริมศักยภาพการศึกษา ฯลฯ 2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เช่น เรียนฟรี 15 ปี ฯลฯ 2.1 ค่ารายหัว 2.2 ค่าเครื่องแบบ เป็นต้น 3. เงินที่ อปท.ใช้เงินรายได้ของตนตั้งงบประมาณให้สถานศึกษา รวมรายได้ทั้งสิ้น
95
ประมาณการรายได้ของสถานศึกษา
ประมาณการรายได้ทั้งสิ้น บาท ประกอบด้วย ก.รายได้จัดหาเอง 1. เงินที่มีผู้อุทิศให้ จำนวน บาท คำชี้แจง ประมาณการไว้เท่าปีที่ผ่าน 2. เงินบำรุงการศึกษา จำนวน บาท คำชี้แจง ประมาณการไว้สูงกว่าปีที่ผ่านมา เนื่องจากปีที่ผ่านมาได้รับจริงสูงกว่าประมาณการ จึงประมาณการไว้เท่าที่ได้รับจริง ข. รายได้จากเงินอุดหนุนและที่ อปท.ตั้งงบประมาณให้ 1. เงินอุดหนุนของรัฐที่ให้ อปท. ตั้งงบประมาณให้สถานศึกษา 1.1 ค่าอาหารกลางวัน จำนวน บาท คำชี้แจง
96
ประมาณการรายจ่ายของสถานศึกษา
งาน/โครงการ (ตามแผนปฏิบัติงานประจำปี) จ่ายจริง ปี 2553 ประมาณการ ปี 2554 โครงการ กิจการตามประเพณีท้องถิ่น ค่าพัฒนาบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อสื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอน ฯลฯ รวมรายจ่าย
97
ประมาณการรายจ่ายของสถานศึกษา
งาน/โครงการ (ตามแผนปฏิบัติงานประจำปี) ค่าตอบ แทน ใช้และวัสดุ ค่า ครุภัณฑ์ ค่าจ้างชั่วคราว รายจ่ายอื่น รายจ่าย รวม โครงการ กิจการตามประเพณีท้องถิ่น ค่าพัฒนาบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อสื่อ และอุปกรณ์การเรียนการสอน ฯลฯ รวมรายจ่าย
98
ประมาณการรายจ่ายของสถานศึกษา
ประมาณการรายจ่ายทั้งสิ้น บาท แยกเป็น 1.โครงการ ตั้งไว้ บาท คำชี้แจง ตั้งจ่ายจากเงินอุดหนุนของรัฐที่ให้ อปท. ตั้งงบประมาณให้สถานศึกษา 2. ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อวัสดุการเรียนการสอน บาท คำชี้แจง ตั้งจ่ายจากเงินอุดหนุนเฉพาะกิจโรงการเรียนฟรี 15 ปี 3. โครงการ ตั้งไว้ บาท คำชี้แจง ตั้งจ่ายจากรายได้จัดหาเอง
99
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการนำเงินรายได้ของสถานศึกษา ไปจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๑
100
ข้อ ๕ ในระเบียบนี้ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความถึง องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล “ผู้บริหารท้องถิ่น” หมายความถึง นายกองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหารส่วนตำบล “สถานศึกษา” หมายความถึง สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน ศูนย์การเรียนวิทยาลัย สถาบัน หน่วยงานการศึกษา หรือหน่วยงานอื่นในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีอำนาจหน้าที่ หรือมี วัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา
101
“หัวหน้าสถานศึกษา” หมายความถึง ผู้ได้รับการแต่งตั้งจาก
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้รับผิดชอบบริหารสถานศึกษา “คณะกรรมการ” หมายความถึง คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หรือคณะกรรมการของสถานศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่น “แผนปฏิบัติการประจำปี” หมายความถึง แผนพัฒนาการศึกษา ของสถานศึกษาที่ใช้ปฏิบัติการประจำปีนั้น ๆ
102
ข้อ ๖ เงินรายได้ของสถานศึกษา ประกอบด้วย
(๑) เงินที่มีผู้อุทิศให้แก่สถานศึกษานั้นโดยเฉพาะ ทั้งนี้ หากเป็นการให้แบบมีเงื่อนไขต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการ (๒) เงินที่ได้จากการรับจ้าง และที่ได้จากการจำหน่ายสิ่งของ (๓) เงินที่ได้จากการแสดงหรือกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การแสดงศิลปหัตถกรรมนักเรียน นิทรรศการ การแข่งขันกีฬา การแสดงละคร เป็นต้น
103
(๔) เงินที่ได้จากการเรียกเก็บเป็นค่าบำรุงการศึกษา ตามแนวทาง
ที่อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย (๕) เงินที่ได้จากบุคคลภายนอก เนื่องจากบุคคลนั้นได้รับประโยชน์จากการใช้ทรัพย์สินของสถานศึกษา (๖) เงินที่ได้จากการจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินหรือเงินผลประโยชน์จากทรัพย์สินที่เกิดจากเงินรายได้ของสถานศึกษา และจากบุคคลภายนอก
104
(๗) เงินที่ได้จากการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งงบประมาณ
ให้สถานศึกษาเป็นค่าอาหารกลางวัน ค่าเงินรายหัวนักเรียน และค่าพัฒนาการจัดการศึกษา (๘) ดอกผลที่เกิดจากเงินรายได้สถานศึกษา (๙) รายได้อื่น ๆ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือหนังสือ สั่งการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนดให้เป็นรายได้ของสถานศึกษา
105
ข้อ ๗ การเรียกเก็บเงินบำรุงการศึกษา ตามข้อ ๖ (๔) จะเรียกเก็บได้เฉพาะในเรื่องที่สถานศึกษาจะพัฒนาการเรียนการสอนเสริมเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานการจัดประสบการณ์และการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือบริการอื่น เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและมาตรฐานการศึกษาของนักเรียนได้ตามอัตราที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น ซึ่งต้องเป็นไปด้วยความสมัครใจของผู้ปกครองและนักเรียน โดยในการจัดเก็บให้คำนึงถึงผู้ปกครองที่มีฐานะยากจนและผู้ปกครองที่ไม่มีสิทธิเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรด้วย ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
106
ข้อ ๙ ภายใต้บังคับข้อ ๖ (๗) เงินรายได้ของสถานศึกษาให้ใช้จ่ายตามกิจการของสถานศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีโดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการตามรายการดังต่อไปนี้ (๑) ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการศึกษาสำหรับนักเรียนโดยตรงและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการบริหารงานทั่วไปสำหรับสถานศึกษา ซึ่งมีรายการค่าใช้จ่ายเป็นไปตามแนวทางที่อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด (๒) กิจการตามประเพณีท้องถิ่น (๓) สื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอนของสถานศึกษา (๔) ค่าใช้จ่ายในการส่งบุคลากรของสถานศึกษาไปเข้ารับการฝึกอบรม (๕) รายจ่ายอื่น ๆ ที่มีกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง หรือที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสั่งการกำหนดให้เป็นรายจ่ายของสถานศึกษา
107
ข้อ ๑๐ ในกรณีที่สถานศึกษามีรายได้ตามข้อ ๖ (๗) ให้ถือว่าผู้บริหารท้องถิ่นมอบอำนาจในการอนุมัติจ่ายเงินรายได้ของสถานศึกษาและอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้างให้หัวหน้าสถานศึกษา ตามวงเงินที่กำหนดในข้อ ๑๑
108
(๑) หัวหน้าสถานศึกษา ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
ข้อ ๑๑ การสั่งซื้อ หรือจ้าง และการอนุมัติจ่ายเงินรายได้ของสถานศึกษาในแต่ละครั้งให้เป็นอำนาจของผู้ดำรงตำแหน่งและภายในวงเงินดังต่อไปนี้ (๑) หัวหน้าสถานศึกษา ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (๒) ผู้บริหารท้องถิ่น หรือผู้ซึ่งผู้บริหารท้องถิ่นมอบหมาย เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาทขึ้นไป ทั้งนี้ การใช้จ่ายเงินรายได้ของสถานศึกษาให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยอนุโลม
109
แนวทางปฏิบัติตามระเบียบ มท
แนวทางปฏิบัติตามระเบียบ มท.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการนำ รายได้ของสถานศึกษา ฯ (๑) ให้ตั้งงบประมาณไว้ในหมวดรายจ่ายอื่น ประเภทสนับสนุนค่าใช้จ่ายการบริหารสถานศึกษา ได้แก่ ค่าอาหารกลางวัน ค่าพัฒนาการจัดการศึกษา และเงินอื่นที่ อปท. จะตั้งให้กับสถานศึกษา (๒) เงินค่าพัฒนาการจัดการศึกษา หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาหลักสูตร ค่าอินเตอร์เน็ต ค่าอุปกรณ์การศึกษา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาบุคลากร เงินบริหารการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน และเงินอื่น ๆ ที่ อปท. จะให้กับสถานศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษากิจการตามประเพณีท้องถิ่น
110
แนวทางปฏิบัติตามระเบียบ มท
แนวทางปฏิบัติตามระเบียบ มท.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการนำ รายได้ของสถานศึกษา ฯ (3) ผู้อำนวยการสถานศึกษา เป็นหัวหน้าสถานศึกษา กรณีไม่มีให้ผู้บริหารท้องพิจารณาแต่งตั้งข้าราชการท้องถิ่นในสำนัก/กอง/ส่วน/ฝ่าย/งานการศึกษา (4) ให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งหัวหน้าสถานศึกษา เป็นหัวหน้างานการคลังของโรงเรียน และพิจารณาแต่งตั้งข้าราชการครูเป็นเจ้าหน้าที่การเงินของโรงเรียน 5) ให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งหัวหน้าสถานศึกษา เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุของโรงเรียน และพิจารณาแต่งตั้งข้าราชการครูเป็นเจ้าหน้าที่พัสดุของโรงเรียน
111
แนวทางปฏิบัติตามระเบียบ มท
แนวทางปฏิบัติตามระเบียบ มท.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการนำ รายได้ของสถานศึกษา ฯ (6) การถอนเงินฝากธนาคารของสถานศึกษา ให้หัวหน้าสถานศึกษา และครูอย่าน้อย 1 คน ซึ่งได้รับแต่งตั้งโดยผู้บริหารท้องถิ่น เป็นผู้มีอำนาจลงนามสั่งจ่ายเงินฝากธนาคาร
112
สาระสำคัญของระเบียบพัสดุ
แบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ การจัดหา การควบคุม การจำหน่าย
113
วงจรพัสดุ จัดหา จำหน่าย ควบคุม
114
การจัดหา มีหลายวิธี ได้แก่
มีหลายวิธี ได้แก่ การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเช่า การยืม
115
การซื้อ – การจ้าง ( 5 วิธี )
1. กรณีใช้วงเงินกำหนดวิธีการ วิธีตกลงราคา ครั้งหนึ่ง ไม่เกิน ,000 บาท วิธีสอบราคา ครั้งหนึ่ง เกินกว่า 100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท วิธีประกวดราคา ครั้งหนึ่ง เกินกว่า 2,000,000 บาท
116
การซื้อ – การจ้าง ( 5 วิธี ) (ต่อ)
การซื้อ – การจ้าง ( 5 วิธี ) (ต่อ) 2. กรณีใช้วงเงินและเงื่อนไขกำหนดวิธีการซื้อ โดยวิธีพิเศษ - เกินกว่า 100,000 บาท - เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามข้อ 17 2.2 จ้างโดยวิธีพิเศษ - เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามข้อ 18 3. กรณีใช้เงื่อนไขกำหนดวิธีการ - วิธีกรณีพิเศษ
117
หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
ขั้นตอนการซื้อและการจ้างโดยวิธีตกลงราคา เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง รายงาน (20) ให้ความเห็นชอบ (20) ผู้ขาย / ผู้รับจ้าง หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ เสนอสั่งซื้อ/จ้าง สั่งซื้อ / จ้าง (32) ข้อยกเว้น : กรณีจำเป็นเร่งด่วน - ไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน - ดำเนินการตามปกติไม่ทัน วิธีการ : - เจ้าหน้าที่พัสดุ / ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการไปก่อน - รายงานขอความเห็นชอบผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง - ใช้รายงานเป็นหลักฐานการตรวจรับ - รายงานการซื้อ / จ้างเฉพาะรายการ เท่าที่จำเป็น
118
ขั้นตอนการซื้อและการจ้างโดยวิธีสอบราคา
เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง รายงาน (20) ให้ความเห็นชอบ (22) จัดทำประกาศ (33) ออกประกาศ (34) รับซอง คณะกรรมการเปิดซอง (35) - ตรวจสอบคุณสมบัติผู้เสนอราคา - เปิดซอง - ตรวจสอบคุณภาพ / คุณสมบัติของพัสดุ - คัดเลือก - เกณฑ์ปกติต่ำสุด เท่ากันหลายราย - ยื่นซองใหม่ รายเดียว ดำเนินการ - ก่อนวันเปิดซอง วัน - นานาชาติ วัน - ปิด ณ ที่ทำการโดยเปิดเผย - ส่งให้ผู้มีอาชีพขาย/รับจ้าง โดยตรงทางไปรษณีย์ กรณีเกินวงเงิน (36) 1. เรียกรายต่ำสุดมาต่อรองให้อยู่ในวงเงิน หรือสูงกว่าไม่เกิน 10% 2. ถ้า 1 ไม่ได้ผล ให้ทุกรายยื่นซองใหม่ พิจารณาตามหลักเกณฑ์ข้อ 1 3. ถ้า 2 ไม่ได้ผล - ลดรายการ - ลดงาน - ยกเลิก - ลดจำนวน - ขอเงินเพิ่ม
119
ขั้นตอนการซื้อและการจ้างโดยวิธีประกวดราคา
รายงาน (20) เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง ให้ความเห็นชอบ (22) คณะกรรมการรับและเปิดซอง (42) - รับซอง - ตรวจหลักประกันซอง - รับเอกสารหลักฐาน - เปิดซอง,อ่านราคา,ลงชื่อในเอกสาร คณะกรรมการพิจารณาผลฯ (43) - ตรวจสอบคุณสมบัติ / เงื่อนไข - คัดเลือกสิ่งของ / งานจ้าง - พิจารณาราคา * เกณฑ์ปกติ * ราคาต่ำสุด * เท่ากันหลายราย * ยื่นซองใหม่ * ถูกต้องรายเดียว (44) * ยกเลิก * ไม่มีผู้เสนอราคา (45) * ดำเนินการต่อไป * มีแต่ไม่ถูกต้อง * ยกเลิก หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ - จัดทำเอกสารตามตัวอย่าง (37) - ประกาศเผยแพร่ (37) - วิธีประกาศ (38) - ให้หรือขายแบบ (39) - ประกาศเพิ่มเติม (40) - ข้อห้าม,ร่น เลื่อน ,เปลี่ยนแปลง (41) เปลี่ยนแปลงสาระสำคัญก่อนทำสัญญา - ยกเลิก (46) ยื่น 2 ซอง (47-48) - คำนึงถึงเทคโนโลยีข้อกำหนดพิเศษ - ข้อเสนอไม่อยู่ในฐานเดียวกัน - การพิจารณาเทคนิคและการเงิน ให้มีผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ด้านละ 1 คน ร่วมเป็นกรรมการ
120
คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ
ขั้นตอนการซื้อโดยวิธีพิเศษ เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งซื้อ รายงาน (20) ให้ความเห็นชอบ (22) คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ เงื่อนไข (ข้อ 17) วิธีการ (ข้อ50) 1. จะขายทอดตลาด เจรจาตกลงราคา 2. เร่งด่วน เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง 3. ซื้อจากต่างประเทศ สั่งซื้อโดยตรงโดยให้หน่วยงานอื่นในต่างประเทศสืบราคาให้ 4. จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจำหน่ายมาเสนอราคาและต่อรอง 5. ใช้วิธีอื่นไม่ได้ผล สืบราคาผู้มีอาชีพรายอื่นเปรียบเทียบกับผู้เสนอราคาเดิม และต่อรอง 6. ซื้อที่ดิน/สิ่งก่อสร้างเฉพาะแห่ง เชิญเจ้าของมาเสนอราคาและต่อรอง
121
คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ
ขั้นตอนการจ้างโดยวิธีพิเศษ รายงาน (20) เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งจ้าง ให้ความเห็นชอบ (22) คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ เงื่อนไข (ข้อ 18) วิธีการ (ข้อ51) 1. ช่างฝีมือ/ชำนาญพิเศษ 2. ซ่อมพัสดุที่ต้องถอดตรวจ - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา 3. เร่งด่วน-ช้าเสียหาย และต่อรอง 4. ใช้วิธีอื่นไม่ได้ผล - สืบราคาผู้มีอาชีพรับจ้างรายอื่น เปรียบเทียบกับผู้เสนอราคาเดิมและต่อรอง
122
ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง
ขั้นตอนการซื้อและการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งจ้าง รายงาน (20) ให้ความเห็นชอบ (22) ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น เงื่อนไข 1. เป็นผู้ทำ/ผลิตเอง นายกรัฐมนตรี อนุมัติหลักการแล้ว 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรีให้ซื้อ/จ้าง (รวมหน่วยอื่นที่มิใช่ส่วนราชการ) เสนอสั่งซื้อ/จ้าง (60) ติดต่อตกลงราคา
123
ขั้นตอนการประมูลโดยระบบอิเล็คทรอนิค
-วงเงินเกิน 2 ล้านบาท :เจ้าหน้าที่พัสดุ จัดทำรายงานเสนอผู้มีอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้าง : แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ : นายกฯ คัดเลือกผู้ให้บริการตลาดกลาง และแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดการ ประมูล : คณะกรรมการฯ ร่วมกับผู้ให้บริการฯ กำหนดรูปแบบและ รายละเอียดการประมูล : จัดเตรียมเอกสารสัญญาจัดประมูล 3 ฝ่าย : ประกาศเชิญชวนผู้ค้าอย่างเปิดเผย
124
ขั้นตอนการประมูลโดยระบบอิเล็คทรอนิค
: ให้หรือขายเอกสารตั้งแต่วันเริ่มประกาศ (ไม่น้อยกว่า 7 วัน) :วันสุดท้านของการให้หรือขายต้องห่างจากวันรับเอกสารเสนอไม่น้อยกว่า 5 วัน : คัดเลือกและประกาศรายชื่อผู้ค้าโดยเปิดเผย
125
รายงานขอซื้อ – จ้าง หลักการ ก่อนซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงาน
หลักการ ก่อนซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงาน ผู้จัดทำ เจ้าหน้าที่พัสดุ รายละเอียด เหตุผลความจำเป็น รายละเอียดของพัสดุ งานจ้าง ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือ ราคาครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี วงเงิน กำหนดเวลาใช้พัสดุ / งานแล้วเสร็จ วิธีการซื้อ – จ้าง ข้อเสนอ (กรรมการ , ประกาศ) ข้อยกเว้น ข้อ 32 วรรคสอง
126
คณะกรรมการในการซื้อ – การจ้าง
ประเภท : คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา : คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา : คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา : คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ : คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ : คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ : คณะกรรมการตรวจการจ้าง : ผู้ควบคุมงาน เพิ่มเติม : คณะกรรมการกำหนดราคากลาง
127
การแต่งตั้งคณะกรรมการ
ผู้แต่งตั้ง : ผู้สั่งซื้อ สั่งจ้าง องค์ประกอบ : ประธาน (ระดับ 3 ขึ้นไป) : กรรมการ (ปกติระดับ 3 ขึ้นไป) : ผู้แทนชุมชน ประชาคม เงื่อนไข : ต้องตั้งเป็นครั้งๆ ไป (ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ)
128
การแต่งตั้งคณะกรรมการ (ต่อ)
การแต่งตั้งคณะกรรมการ (ต่อ) หลักการ :ไม่ตั้งกรรมการซ้ำกัน :ห้ามกรรมการรับและเปิดซอง เป็นกรรมการ พิจารณาผลการประกวดราคา :ห้ามกรรมการเปิดซองสอบราคาหรือ กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา เป็นกรรมการตรวจรับ :การดำเนินการของคณะกรรมการแต่ละคณะ - ต้องกำหนดระยะเวลาในการพิจารณา
129
การประชุมคณะกรรมการ องค์ประชุม : ประธานและกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
: ประธานและกรรมการมีเสียงหนึ่ง ในการลงมติ มติกรรมการ: ถือเสียงข้างมาก ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธาน ออกเสียงเพิ่มชี้ขาด : คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ คณะกรรมการตรวจการจ้าง ใช้ มติเอกฉันท์ (กรรมการที่ไม่เห็นด้วยให้บันทึกความเห็นแย้งไว้)
130
การแก้ไขสัญญา หรือข้อตกลง
การแก้ไขสัญญา หรือข้อตกลง หลักการ : ลงนามแล้วแก้ไขไม่ได้ เหตุที่แก้ไขได้ ◊ เป็นความจำเป็นโดยไม่ทำให้หน่วยการบริหาร ราชการส่วนท้องถิ่นเสียประโยชน์ ◊ เป็นการแก้ไขเพื่อประโยชน์แก่หน่วยการบริหาร ราชการส่วนท้องถิ่น ผู้มีอำนาจแก้ไข ☺ เงินรายได้ เงินกู้ เงินช่วยเหลือ ผู้บริหารท้องถิ่น ☺ เงินอุดหนุน ผวจ. วิธีการ : เพิ่มวงเงิน รายงาน มท. เพื่อขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ : จัดทำสัญญาแก้ไขเพิ่มเติม : เพิ่ม/ลด วงเงิน ระยะเวลา ตกลงไปพร้อมกัน : ได้รับการรับรอง ถ้าเป็นงานเทคนิค/งานเกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรง
131
การบอกเลิกสัญญา 130 (59) มีเหตุเชื่อว่า ผรจ. ทำงานไม่เสร็จตามสัญญา
130 (59) มีเหตุเชื่อว่า ผรจ. ทำงานไม่เสร็จตามสัญญา แก้ไขข้อเสียเปรียบของ อปท. หรือประโยชน์ อปท. 131 (60) ถ้าค่าปรับจะเกิน 10% เว้นแต่คู่สัญญาจะยอมให้ปรับ โดยไม่มีเงื่อนไข ---> ผ่อนปรนหรือไม่
132
132 (61) เหตุ งด/ลด ค่าปรับ หรือขยายเวลาสัญญา
132 (61) เหตุ งด/ลด ค่าปรับ หรือขยายเวลาสัญญา เป็นอำนาจนายกฯ แต่ถ้าวงเงินการจัดหาเกินอำนาจนายกฯ ก็เป็นอำนาจ ผวจ. เฉพาะเหตุ 1. เกิดจากความผิดหรือบกพร่องของ อปท. 2. เหตุสุดวิสัย 3. เกิดจากพฤติการณ์ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดตาม กม. เหตุตามข้อ 2,3 ผรจ.ต้องแจ้ง อปท. ใน 15 วัน นับแต่เหตุนั้นสิ้นสุดลง
133
การปรับ อัตราและเงื่อนไข ผู้มีอำนาจกำหนด : หัวหน้าฝ่ายบริหารของ อปท.
►ซื้อ/จ้าง ไม่ต้องการผลสำเร็จพร้อมกัน = ร้อยละ ของราคาพัสดุยังไม่ได้รับมอบ ►จ้างต้องการผลสำเร็จพร้อมกัน = เงินตายตัวในอัตรา ร้อยละ (> 100 บาท) ►จ้างก่อสร้างสาธารณูปโภคที่มีผลกระทบต่อการจราจร ในอัตราร้อยละ 0.25 ผู้มีอำนาจกำหนด : หัวหน้าฝ่ายบริหารของ อปท.
134
วิธีการปรับ 1. แจ้งการปรับเมื่อครบกำหนด (มุ่งถึงจะมีการ บอกเลิกสัญญา) , สงวนสิทธิปรับเมื่อส่งมอบ 2. นับถัดจากวันครบกำหนดถึงวันส่งมอบ 3. อัตราตามสัญญา ข้อตกลง 4. ของเป็นชุดปรับทั้งชุด 5. ของคิดราคารวมติดตั้งทดลองปรับตามราคาทั้งหมด
135
การจำหน่ายพัสดุ - สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก - แลกเปลี่ยน
หลัก - เมื่อหมดความจำเป็น หรือ - สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก การจำหน่าย - ขายทอดตลาด หากได้มาไม่เกิน 100,000 บาท - ตกลงราคา - แลกเปลี่ยน - โอนให้ราชการ /อปท. /องค์กรสาธารณกุศล - แปรสภาพหรือทำลาย ตามที่ อปท. กำหนด
136
การขายทอดตลาด สรุปสาระสำคัญ ดังนี้
การขายทอดตลาดตามระเบียบ มท. การยึดอายัด หรือการขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างชำระ ภบท. พ.ศ (2551) หรือหลักเกณฑ์ของราชการ สรุปสาระสำคัญ ดังนี้ - ประกาศการขายทอดตลาด พัสดุอะไร จำนวนเท่าใด - พัสดุที่ขาย ลักษณะ จำนวน วิธีการประมูลด้วยปากเปล่า วันและเวลาประมูล - หลักฐานผู้ประมูล (บัตรประชาชน,หนังสือมอบอำนาจ,เงินมัดจำฯลฯ)
137
การขายทอดตลาด (ต่อ) - หลักเกณฑ์การพิจารณา ราคาสูงสุด อปท.อาจยกเลิก - การยกเลิกการขาย ผู้ประมูลไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหาย - การชำระเงิน 25% ของราคาที่ประมูลได้ ส่วนที่เหลือใน วัน หรือชำระหมดพร้อมรับพัสดุ กรณีโอนกรรมสิทธิ์ เช่น รถยนต์ ต้องโอนใน 5 วัน ผู้ประมูลออกค่าใช้จ่าย - การสอบถามรายละเอียด สอบถามได้ทุกวันเวลาราชการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.