งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการประชุมชี้แจงคณะกรรมการตรวจเยี่ยม การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการ ระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการประชุมชี้แจงคณะกรรมการตรวจเยี่ยม การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการ ระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการประชุมชี้แจงคณะกรรมการตรวจเยี่ยม การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการ ระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561

2 โดย ศาสตราจารย์กิตติคุณสมหวัง พิธิยานุวัฒน์
การตรวจเยี่ยมการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการ ระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วม โดย ศาสตราจารย์กิตติคุณสมหวัง พิธิยานุวัฒน์ (ประธานคณะอนุกรรมการทำงานติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก)

3 ระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วม (Participatory Peer Review : PPR)
กรรมการ (ผู้แทนจากสถาบันอุดมศึกษา) ประธานกรรมการ แต่งตั้งจากผู้แทนคณะกรรมการการอุดมศึกษาและอนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนจากสถาบันอุดมศึกษาหรือคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยหรือผู้แทนสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง P P R R LOREM IPSUM กรรมการ (ผู้ประเมิน IQA) กรรมการ (ผู้ทรงคุณวุฒิสาขาวิชา) เป็นบุคคลภายนอกสถาบันอุดมศึกษาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าที่ตรงกับสาขาวิชา และมีประสบการณ์ เป็นผู้ที่ขึ้นทะเบียนผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรของสกอ.ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกสถาบัน บูรณาการการตรวจเยี่ยมกับ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

4 ระบบการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก
ระบบที่ 1 การตรวจสอบ ระบบที่ 2 การติดตาม ตรวจสอบความสอดคล้องของหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานฯ โดยกลไกการตรวจเยี่ยม 2 กลไก คือ 1. กลไกการรายงานการประเมินตนเอง 2. กลไกการตรวจเยี่ยม เพื่อให้ข้อเสนอแนะเชิงพัฒนา ไม่มีผลการตัดสินว่า “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน” ระบบการติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินผล 1 2 ระบบที่ 3 การประเมินผล ระบบที่ 4 การวิจัยเพื่อพัฒนา การรายงานผลการจัดการศึกษาในภาพรวม/สาขา จ้างเหมาบริการในหัวข้อที่กำหนดเพื่อเป็นการประเมินประสิทธิผลการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก เปิดกว้างในการทำการวิจัย โดยการจ้างเหมาบริการ หรือ การจัดจ้างที่ปรึกษา ใช้ประโยชน์จากผลการวิจัยเพื่อกำหนดนโยบายและปรับทิศทางในการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก 3 4 กกอ.พิจารณาผลของทุกระบบเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบาย/ ทิศทางการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก

5 ขอบเขตการติดตามตรวจเยี่ยมการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก
ระยะที่ 1 (ปีงบประมาณ พ.ศ ) ระยะที่ 2 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561) ระยะที่ 3 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562) เป็นหลักสูตรที่มีประเด็นเรื่องคุณภาพมาตรฐาน หรือ มีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพ ปี พ.ศ.2559 เป็นหลักสูตรในสาขาวิชาบริหารการศึกษาและสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 2 และ “ต้องปรับปรุง”และ “พอใช้” ปี พ.ศ.2559 เป็นหลักสูตรในสาขาวิชาบริหารการศึกษาและสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน “ไม่ผ่าน” เป็นหลักสูตรในสาขาวิชาบริหารการศึกษาและสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ต่อเนื่องจากระยะที่ 1 ที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน “ไม่ผ่าน” เป็นหลักสูตรในสายสังคมศาสตร์ อาทิ สาขาวิชารัฐศาสตร์ สาขาวิชานิติศาสตร์ และสาขาวิชาบริหารธุรกิจที่มีผลการประเมินIQA ระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ การกำกับมาตรฐาน “ไม่ผ่าน” เป็นหลักสูตรสาขาวิชาอื่นๆ ที่มีผลการประเมิน IQA ระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน “ไม่ผ่าน” หลักสูตรที่มีผลการประเมินในภาพรวมต่ำกว่าระดับคะแนน 3.01 เป็นหลักสูตรที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน “ไม่ผ่าน” หรือ “ผ่าน” 3 1 2

6 15 สถาบัน 2 วิทยาเขต 37 หลักสูตร
จัดการศึกษาไม่สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ จำนวน 29 หลักสูตร ผลการตรวจเยี่ยม ระยะที่ 1 54% 46% i ปี 2559 6 สถาบัน 17 หลักสูตร ii ปี 2560 15 สถาบัน 2 วิทยาเขต 37 หลักสูตร iii รวมทั้งหมด 22 สถาบัน 2 วิทยาเขต 54 หลักสูตร จัดการศึกษาสอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ จำนวน 25 หลักสูตร

7 จำแนกตามสาขาวิชา ผลการตรวจเยี่ยม ระยะที่ 1 หลักสูตรปริญญาเอก สาขา
สาขาบริหารการศึกษา สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรปริญญาเอก โครงการตรวจเยี่ยมการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วมของสถาบันอุดมศึกษา ระยะที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ

8 จำแนกตามสาขาวิชา ผลการตรวจเยี่ยม ระยะที่ 1 หลักสูตรปริญญาโท สาขา
สาขาบริหารการศึกษา สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรปริญญาโท โครงการตรวจเยี่ยมการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วมของสถาบันอุดมศึกษา ระยะที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ

9 ประเด็นการตรวจเยี่ยม
17.สิ่งอำนวยความสะดวกและสนับสนุนงานวิจัยของผู้เรียน 15.การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของหลักสูตร 5.อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก 16.การดำเนินการให้เป็นไป ตามตัวบ่งชี้ตามกรอบ TQF 6.อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพน์ร่วม ประเด็นการตรวจเยี่ยม 8.ผลงานวิจัยของอาจารย์ 2.อาจารย์ประจำหลักสูตร 18.การประกันคุณภาพระดับหลักสูตร 3.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 14.คุณภาพวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา 4.อาจาย์ผู้สอน/อาจารย์พิเศษ 7.อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ 12.การสำเร็จการศึกษา 9.การจัดการเรียนการสอน 11.การวัดและการประเมินผล 1.การรับนักศึกษา 13.กระบวนการจัดทำวิทยานิพนธ์ 10.การเทียบโอนผลการเรียน

10 ประเด็นที่พบปัญหา อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ประสบการณ์ด้านการสอน
และการวิจัย คุณวุฒิการศึกษา สัดส่วนไม่เป็นไปตามเกณฑ์ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ สำเร็จการศึกษาตรี/โท ไม่ตรงหรือสัมพันธ์กับปริญญาเอก นับสัดสวนต่อเมื่อนักศึกษาลงทะเบียนเรียนแล้ว (ทั้งปริญญาเอกและโท) อาจารย์ซ้ำซ้อนกับสาขาวิชาอื่นหรือ ระดับปริญญาโท ผลงานวิจัยไม่สร้างองค์ความรู้ใหม่ / ไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ/นานาชาติ รับนักศึกษา เกินแผน

11 ประเด็นที่พบปัญหา อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ อาจารย์ประจำหลักสูตร
ประสบการณ์ด้านการสอนและการวิจัย คุณวุฒิการศึกษา จำนวนอาจารย์ไม่ครบถ้วน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ อาจารย์ประจำหลักสูตร inbreeding ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ สำเร็จการศึกษาตรี/โท ไม่ตรงหรือสัมพันธ์กับปริญญาเอก สัญญาจ้างแบบปีต่อปี อาจารย์ซ้ำซ้อนกับสาขาวิชาอื่นหรือ ระดับปริญญาโท ผลงานวิจัยไม่สร้างองค์ความรู้ใหม่ / ไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ/นานาชาติ/ ไม่สัมพันธ์กับสาขาวิชา มีรายชื่อเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร แต่ไม่ได้ทำหน้าที่

12 ประเด็นที่พบปัญหา อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร
ประสบการณ์ด้านการสอนและการวิจัย คุณวุฒิการศึกษา จำนวนอาจารย์ไม่ครบถ้วน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอน inbreeding ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ สำเร็จการศึกษาตรี/โท ไม่ตรงหรือสัมพันธ์กับปริญญาเอก สัญญาจ้างแบบปีต่อปี ผลงานวิจัยไม่สร้างองค์ความรู้ใหม่ / ไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ/นานาชาติ มีรายชื่อเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร แต่ไม่ได้ทำหน้าที่

13 ประเด็นที่พบปัญหา อาจารย์ผู้สอบและ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
ประสบการณ์ด้านการวิจัย ตำแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิการศึกษา อาจารย์ผู้สอบและ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ผลงานวิจัยไม่สร้างองค์ความรู้ใหม่ / ไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ/นานาชาติ มีตำแหนงทางวิชาการ ไม่สัมพันธ์กับสาขาวิชา/ ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิไม่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา

14 ประเด็นที่พบปัญหา การรับนักศึกษา
ไม่ได้เข้มงวดกับการกำหนดเกณฑ์ภาษาอังกฤษ จำนวนรับนักศึกษาไม่เป็นตามแผน การกำหนดคุณสมบัติในการรับนักศึกษา การรับนักศึกษา ส่วนใหญ่สถาบันออกข้อสอบภาษาอังกฤษเอง รับนักศึกษาเกินกว่าแผน รับผู้สำเร็จการศึกษาจากทุกสาขาวิชา กำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกนักศึกษาแบบ 1 ไม่ชัดเจน ไม่มีประสบการณ์ในสาขาวิชาที่สมัคร เทียบโอนนักศึกษาที่ครบกำหนดระยะเวลาเรียน 6 ปีเข้ามาเป็นนักศึกษาใหม่ ไม่มีผลงานวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือโท

15 ประเด็นที่พบปัญหา คุณภาพวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา
ดุษฎีนิพนธ์ขาดความลุ่มลึก /ไม่สะท้อนองค์ความรู้ ไม่มีความแตกต่างระหว่าง ดุษฎีนิพนธ์เชิงวิชาการ และ เชิงวิชาชีพ ไม่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติและนานาชาติที่เป็นที่ยอมรับ ส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ คุณภาพวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา กำหนดปรัชญาและวัตถุประสงค์ การออกแบบหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และสมรรถนะนักศึกษาไม่ชัดเจน เป็นผลงานในรูปแบบ proceedings ที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ ขาดความสามารถในการปริทัศน์งานวรรณกรรมต่างประเทศ ตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยตนเอง/กลุ่มเครือข่ายสถาบันตนเอง ไม่ได้กำหนดระดับความแคบกว้างของงานวิจัย

16 ข้อเสนอแนะจากการตรวจเยี่ยมฯ ระยะที่ 1
ความสอดคล้องกันระหว่างระบบมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานในระดับหลักสูตรเป็นสำคัญ การควบคุมคุณภาพอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ มีกลไกในการควบคุมคุณภาพมาตรฐานของอาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ให้มี ฐานการวิจัยที่เข้มแข็ง 03 01 04 02 05 06 การจัดการเรียนการสอน ต้องสอดคล้องตามปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของสถาบัน หลักสูตร ปริญญาที่ได้รับ และาประเภทกลุ่มสถาบันเพื่อกำหนดทิศทางกำกับคุณภาพผลผลิต การเชื่อมโยงระบบการตรวจเยี่ยมกับ การลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง เชื่อมโยงของระบบการตรวจเยี่ยมกับการลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงของสถาบันอุดมศึกษาที่มีกรณีร้องเรียนเพื่อให้การดำเนินงานรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น © Copyright PresentationGo.com – The free PowerPoint template library การเปิดหลักสูตร ควรคำนึงถึงความจำเป็นและความพร้อมในการเปิดหลักสูตร ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ การสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวคิดและแนวปฏิบัติของสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นแบบอย่าง ที่ดี และเผยแพร่การเรียนรู้ให้กับสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ

17 ข้อเสนอแนะจากโครงการวิจัย ที่ดำเนินการจ้างที่ปรึกษาฯ จำนวน 3 เรื่อง
7 กำหนดให้มีกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ภายนอกจากบัญชีรายชื่อของ สกอ. 6 ควรแยกให้ชัดเจนระหว่างหลักสูตร Professional Doctorate กับ Ph.D. 5 เน้นตรวจสอบผลผลิต (Output) โดยผู้เชี่ยวชาญที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น และพิจารณาคุณภาพของการจัดการศึกษาปริญญาเอกจาก output/outcome ของดุษฎีนิพนธ์ 4 ให้การสนับสนุนงบประมาณพิเศษและ/หรือความช่วยเหลืออื่น ๆ แก่สถาบันการศึกษาที่จัดหลักสูตรระดับปริญญาเอกในสาขาที่มีความพร้อมและไม่มุ่งหวังผลเชิงพาณิชย์ 3 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดให้มีการรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างทั่วถึง 2 กำหนดนโยบายในการส่งเสริมสนับสนุนหลักสูตรที่มีคุณภาพสูง และกำหนดมาตรการ/แนวทางในการปิดหรือพัฒนาหลักสูตรที่ยังมีคุณภาพไม่ดีพอ 1 กำหนดทิศทางการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกของประเทศที่ตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านตามนโยบายของรัฐบาลและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

18 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการประชุมสัมมนาฯ
ควบคุมภาพจากส่วนกลาง (centralization) เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการกำหนดทิศทางความต้องการกำลังคนของประเทศควรบริหารจัดการควบคุมภาพจากส่วนกลาง การคัดเลือกนักศึกษา คัดเลือกนักศึกษาที่มีความพร้อมโดยรัฐบาลต้องให้ทุนสนับสนุนการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก 08 01 จัดทำกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาเอก ควรกำหนดสมรรถนะของนักศึกษาระดับปริญญาเอกให้มีความชัดเจนเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริม/สนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาที่มีบริบทที่แตกต่างกันพัฒนาไปพร้อม ๆ กัน การสอบวิทยานิพนธ์ระบบเปิด ควรกำหนดแนวทางในการตรวจสอบกระบวนการสอบวิทยานิพนธ์ระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟัง และตรวจสอบความซ้ำซ้อนกันของผลงานดุษฎีนิพนธ์นักศึกษา 07 02 06 03 การพัฒนานักศึกษา ควรเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีโอกาสร่วมทำงานวิจัยกับอาจารย์ที่ปรึกษาเพ่าอพัฒนาให้นักศึกษามี องค์ความรู้ในการวิจัยที่เข้มแข็ง ทบทวนการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา ควรทบทวนการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาให้ตรงตามบริบทและศักยภาพของแต่ละสถาบัน © Copyright PresentationGO.com – The free PowerPoint template library 05 04 คุณภาพอาจารย์ ควรพิจารณาคุณวุฒิที่อาจารย์สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีถึงระดับปริญญาเอก ความสามารถ ประสบการณ์ ผลงานวิจัย และการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย สำหรับอาจารย์ที่เพิ่งสำเร็จการศึกษา ควรได้ทำงานวิจัยร่วมกับอาจารย์ที่มีประสบการณ์ ก่อนการทำหน้าที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา การเชื่อมโยงระบบการติดตามมาตรฐานหลักสูตร และระบบ IQA เชื่อมโยงระบบการติดตามมาตรฐานหลักสูตร และระบบ IQA ให้สอดคล้องและเป็นทิศทางเดียวกัน อุดมศึกษา

19 3 ประเด็นที่ควรให้ความสำคัญ
คุณภาพอาจารย์ ทั้งในเชิงปริมาณ (จำนวนอาจารย์) และเชิงคุณภาพ (คุณวุฒิ ประสบการณ์สอน การวิจัย และผลงานวิจัย)ของอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ คุณภาพดุษฎีบัณฑิต เริ่มต้นตั้งแต่กระบวนการรับนักศึกษา การกำหนดเกณฑ์การทดสอบภาษาอังกฤษที่ไม่ได้เข้มงวดเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อคุณภาพของดุษฎีนิพนธ์และการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิทยานิพนธ์ในระดับนานาชาติ รวมทั้ง จำนวนรับนักศึกษาที่ไม่สอดคล้องตามแผน ซึ่งส่งผลกระทบต่อสัดส่วนของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ คุณภาพดุษฎีนิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ การปริทัศน์งานวรรณกรรมยังไม่เชื่อมโยงไปสู่กรอบคิดวิธีวิทยาการวิจัย หรือ ทฤษฎีใหม่ จึงส่งผลให้ดุษฎีนิพนธ์ขาดความลุ่มลึกไม่สะท้อนให้เห็นถึงองค์ความรู้ใหม่ที่ค้นพบ หรือ องค์ความรู้ที่แตกต่างจากเดิม หรือ ไม่สามารถต่อยอดจากองค์ความรู้เดิมที่มีอยู่ หรือ นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น หรือ นำไปสู่ความเข้าใจในปรากฎการณ์ต่าง ๆ ในระดับที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ตลอดจนผลงานวิจัยของนักศึกษา ส่วนใหญ่มักจะตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารของมหาวิทยาลัยตนเอง ไม่ได้เผยแพร่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ © Copyright PresentationGo.com – The free PowerPoint template library

20 QR CODE เอกสารประกอบการประชุม


ดาวน์โหลด ppt โครงการประชุมชี้แจงคณะกรรมการตรวจเยี่ยม การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการ ระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google